Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19273
Title: การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้วิธีวัดสภาพต้านทานไฟฟ้าตรวจหาโครงสร้างธรณีวิทยาที่มีลักษณะเป็นแอ่ง
Other Titles: รายงานการวิจัยการศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้วิธีวัดสภาพต้านทานไฟฟ้าตรวจหาโครงสร้างธรณีวิทยาที่มีลักษณะเป็นแอ่ง
Authors: วรวุฒิ โลหะวิจารณ์
Faculty of Science (Physics)
คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาฟิสิกส์
Keywords: ดิน กระบี่;ธรณีวิทยา กระบี่
Issue Date: 2533
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: Ten Schlumberger sounding with the maximum current electrodes separation of 2 km were carried out in the Krabi basin. The aim of the study was to delineate the of the basin. boundaries Results from the study show that the resistivity of the sediment in the basin is less than 20 ohmm and there are lateral changes in resistivity to greater than 120 ohmm and to greater than 40 ohmm at the western and the eastern rims of the basin. The boundaries determined from the resitivity measurement agree with those determined agree with those determined from the gravity anomaly and with the geological boundaries. However, the vertical boundary of the basin could not be determined from the present study. This probably dues to a small resistivity contrast, between the basin sediment and the bedrock or a weak current source.
Abstract(Thai): ได้ทําการวัดสภาพต้านทานไฟฟ้าของดิน โดยใช้เทคนิคการหยั่งลึกทางไฟฟ้า โดย จัดวางขบวนขั้วไฟฟ้าชนิดสลัมเบอร์เจ และใช้ระยะระหว่างขั้วไฟฟ้ากระแสที่มากที่สุด เท่ากับ 2 กิโลเมตร จํานวน 10 จุดวัดเพื่อตรวจหาขอบเขตของแอ่งกระบี่ เมตร ผลการวิจัยพบว่าสภาพต้านทานของดินตะกอนในแอ่งมีค่าน้อยกว่า 20 โอห์ม- และพบว่าค่าสภาพต้านทานมีการเปลี่ยนแปลงตามแนวราบที่บริเวณชอบแอ่ง โดยที่ขอบแอ่งด้านตะวันตกสภาพต้านทานไฟฟ้าของดินจะเปลี่ยนแปลงจากน้อยกว่า 20 โอห์มเมตร เป็นค่าที่มากกว่า 120 โอห์มเมตร และที่ขอบแอ่งด้านตะวันออกของแอ่ง สภาพต้านทานไฟฟ้าของดินจะเปลี่ยนแปลงจากน้อยกว่า 20 โอห์มเมตรเป็นค่าที่มาก กว่า 40 โอห์มเมตร ขอบเขตของแอ่งตามแนวราบซึ่งกําหนดโดยวิธีวัดสภาพต้านทาน ไฟฟ้านี้สอดคล้องกับขอบเขตของแอ่งจากการวัดค่าสนามโน้มถ่วงผิดปกติและจากแผนที่ ธรณีวิทยา อย่างไรก็ดีเราไม่สามารถกําหนดขอบเขตของแอ่งในแนวดิ่งจากการวิจัย ครั้งนี้ได้ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากค่าสภาพต้านทานเปรียบต่างของดินตะกอนภายในแอ่ง และของหินดานมีค่าน้อย หรือความเข้มของกระแสซึ่งป้อนให้กับดินไม่เพียงพอ
URI: https://link.psu.th/TranR
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19273
Appears in Collections:332 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.