Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19155
Title: | Perspectives towards Schoolscapes in the Deep South of Thailand: A Case Study of Two Islamic Private Schools in Yala and Pattani |
Other Titles: | ทัศนคติต่อภูมิทัศน์ภาษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้: กรณีศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามสองแห่งในจังหวัดยะลาและปัตตานี |
Authors: | Kristof Savski Adeelah Ayae Faculty of Liberal Arts (Languages and Linguistics) คณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร์ |
Keywords: | Linguistic Lndscape;Deep South Thailand |
Issue Date: | 2023 |
Publisher: | Prince of Songkla University |
Abstract: | This study was carried out in two private Islamic schools situated in the Deep South of Thailand with the purpose of investigating the languages employed on signs and obtaining perspectives of three different groups of participants: teachers, students, and administrators. The findings indicated that Thai and Malay were the most commonly used languages in the linguistic landscape of the schools. Thai was predominantly used on monolingual signs, while bilingual signs featured both Thai and Malay equally in both schools. Regarding multilingual signs, School A displayed a greater variety of languages in comparison to School B. Furthermore, the study revealed that bottom-up signs created by school insiders were more widespread than top-down signs generated by government entities. The utilization of the Malay language was also evident in both schools, with both the Arabic-derived Jawi and Latin-derived Rumi scripts used. In summary, this research underscores the significance of examining the linguistic landscape of educational institutions, especially in regions characterized by diverse linguistic backgrounds. The prominence of Thai and Malay in the schools emphasizes the requirement for language policies that endorse multilingualism and honor linguistic diversity. The dominance of bottom-up signs also implies the importance of giving space for school insiders to have a voice in shaping the linguistic landscape to promote a wide range of languages used on signs to support multilingual students. |
Abstract(Thai): | การศึกษานี้ดำเนินการในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามสองแห่งที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคชายแดนใต้ของประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจภาษาที่ใช้บนป้ายและสำรวจมุมมองจากผู้เข้าร่วมสามกลุ่มที่แตกต่างกัน ได้แก่ ครู นักเรียน และผู้บริหารโรงเรียน ผลการวิจัยพบว่า ภาษาไทยและภาษามลายูเป็นภาษาที่ใช้มากที่สุดในภูมิทัศน์ภาษาของทั้งสองโรงเรียน ป้ายภาษาเดียวส่วนใหญ่เป็นภาษาไทย ในขณะที่ป้ายสองภาษามีทั้งภาษาไทยและภาษามลายูเท่ากันในทั้งสองโรงเรียน สำหรับป้ายหลายภาษานั้น โรงเรียนเอ (A) มีการใช้ภาษาที่หลากหลายมากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับโรงเรียนบี (B) นอกจากนี้การศึกษาพบว่าป้ายจากล่างขึ้นบน (Bottom-up) ทำโดยบุคคนภายในโรงเรียนมีจำนวนมากกว่าป้ายจากบนลงล่าง (Top-down) ที่ถูกทำขึ้นโดยหน่วยงานของรัฐ การใช้ภาษามลายูยังเห็นได้ชัดในโรงเรียนทั้งสองโดยมีการใช้ทั้งอักษรยาวีที่มาจากภาษาอาหรับและอักษรรูมีที่มาจากภาษาละติน โดยสรุปงานวิจัยนี้เน้นย้ำถึงความสำคัญของการศึกษาภูมิทัศน์ภาษาของสถาบันการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคที่มีภูมิหลังทางภาษาที่หลากหลาย ความโดดเด่นของภาษาไทยและภาษามลายูในสองโรงเรียนนี้เน้นย้ำถึงข้อกำหนดตามนโยบายด้านภาษาที่สนับสนุนการใช้พหุภาษาและให้เกียรติความหลากหลายทางภาษา ความโดดเด่นของป้ายจากล่างขึ้นบนยังบอกเป็นนัยถึงความสำคัญของการให้พื้นที่แก่บุคคลภายในโรงเรียนที่จะมีสิทธิ์มีเสียงในการสร้างภูมิทัศน์ภาษาเพื่อส่งเสริมการใช้ภาษาที่หลากหลายบนป้ายเพื่อสนับสนุนนักเรียนพหุภาษา |
Description: | Master of Arts (Teaching English as an International Language), 2023 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19155 |
Appears in Collections: | 890 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6311120005.pdf | 8.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License