กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19079
ชื่อเรื่อง: องค์ประกอบและตัวชี้วัดการสื่อสารความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรอุตสาหกรรมไมซ์ ประเทศไทย
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Components and Indicators Corporate Social Responsibility Communication in MICE Industry Thailand
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ศศิวิมล สุขบท
พรชนก พงค์ทองเมือง
Faculty of Management Sciences (Management)
คณะวิทยาการจัดการ (สาขาวิชาการจัดการ)
คำสำคัญ: ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ;อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
วันที่เผยแพร่: 2018
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทคัดย่อ: This research aims 1) to determine the components and indicators of CSR communications of MICE industry in Thailand and 2) to analyze and validate these components and indicators of CSR communications. This research employs an exploratory sequential design with a mixed method of qualitative and quantitative research. Firstly, the qualitative data was collected from 10 key informants through unstructured in-depth interviews. In the second step, the quantitative data were obtained by means of questionnaires. A number of 144 questionnaires were returned. Statistics used for data analysis included basic statistics i.e. frequency, percentage, mean and standard deviation; and statistics for factor analysis were performed, i.e. Exploratory Factor Analysis (EFA), and Confirmatory Factor Analysis (CFA). The results confirmed 3 main components at the weight value between 0.90-0.97 and 8 sub-components at the weight value between 0.71-0.93. Each sub-component had 4 dimensions at a weight value between 0.92-0.99. In addition, there were a total of 160 indicators at the weight value between 0.01-0.7. Results of the 3rd CFA showed a significant consistency with the empirical data (Chi-Square =2.08, CFI =0.98 NFI =0.97 and SRMR = 0.053).
Abstract(Thai): การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดการสื่อสารความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร อุตสาหกรรมไมซ์ ประเทศไทย 2) เพื่อวิเคราะห์และยืนยันองค์ประกอบและตัวชี้วัดการสื่อสารความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรอุตสาหกรรมไมซ์ ประเทศไทย วิธีการวิจัยเป็นแบบผสมผสานวิธี (Mixed Methods Research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยใช้แบบวิจัยการวิจัยแบบต่อเนื่องเชิงสารวจ (The Exploratory Sequential Design) ขั้นตอนและการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informant) ผ่านเทคนิคการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) จานวน 10 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง ขั้นตอนที่สองการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีการตอบกลับจานวน 144 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมีทั้งสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการพัฒนาองค์ประกอบและตัวชี้วัด ได้แก่ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ (Exploratory Factor Analysis) และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis: CFA) ผลการศึกษา พบว่ามี 3 องค์ประกอบหลัก ค่าน้าหนักองค์ประกอบระหว่าง 0.90-0.97 องค์ประกอบย่อย 8 องค์ประกอบย่อย ค่าน้าหนักองค์ประกอบระหว่าง 0.71-0.93 โดยแต่ละองค์ประกอบย่อย มี 4 มิติ มีค่าน้าหนักระหว่าง 0.92-0.99 และมีมิติตัวชี้วัดทั้งหมดจานวน 160 ตัวชี้วัด มีค่าน้าหนักองค์ประกอบอยู่ระหว่าง 0.01-0.7 ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สาม (3rd CFA) พบว่าได้ค่าสถิติที่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าสถิติ ไค สแควร์สัมพัทธ์เท่ากับ 2.08 CFI เท่ากับ 0.98 NFI เท่ากับ 0.97 และ SRMR เท่ากับ 0.053
รายละเอียด: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การจัดการ), 2561
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19079
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:450 Thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
426569.pdf3.41 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons