Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19022
Title: Process development for carbon dioxide removal from biogas and lipid production by oleaginous microalgae cultivation
Other Titles: การพัฒนากระบวนการกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากก๊าซชีวภาพและการผลิตไขมันโดยการเพาะเลี้ยงสาหร่ายไขมันสูง
Authors: Benjamas Cheirsilp
Sirasit Srinuanpan
Faculty of Agro-Industry (Industrial Biotechnology)
คณะอุตสาหกรรมเกษตร ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรม
Keywords: Algae;Microalgae Biotechnology
Issue Date: 2018
Publisher: Prince of Songkla University
Abstract: Oleaginous microalgae has high CO2 removal rate which could be used for biogas purification effectively. They also can accumulate high lipid content >20% dry basis and has potential to be utilized as biodiesel feedstocks. This study aimed to develop the efficient process of microalgae cultivation for biogas purification coupling with lipid production as well as the development of harvesting process, immobilization of microalgae for repeat-use and the ability of microalgae for phytoremediation of industrial wastewater. There are main six parts in this study. Part I is the cultivation of several oleaginous microalgae using biogas and the evaluation of their ability to remove CO2 and improve methane content in biogas. All oleaginous microalgae could effectively remove CO2 in biogas (>90%) and accumulate lipid content in range the range of 24-42%. Among the species tested, Scenedesmus sp. was most effective in CO2 removal. The optimal conditions for both biogas purification and lipid production were: gas flow rate of 0.3 L h-1 per Lmedium, inoculum sized at 107 microalgal cells mL-1, added with KNO3 0.8 g L-1 as nitrogen source and illuminated at 5.5 klux light intensity. Under these conditions, methane content in biogas was increased from 60% up to >90% corresponding to high CO2 removal rate of 5.097 g-CO2 day-1 per 1 L-medium coupled with lipid productivity of 88.57 mg L-1 day-1. In addition, with the strategy of stepwiseincreasing gas flow rate the final biomass and lipid productivity were 1.25 and 1.79 folds increased. The microalgal lipids were composed of fatty acids with fuel properties of high oxidation stability and high ignition quality. Part II is the further improvement of Scenedesmus sp. performance in biogas upgrading and lipid production by the strategies of step-wise increasing of growth factor levels. Three important growth factors for microalgae included light intensity, nitrogen source and CO2 flow rate. The stepwise-increasing of CO2 flow rate was suitable for cell growth and lipid production while the stepwise increasing of light intensity was more suitable for CO2 removal efficiency. Among the strategies attempted, the simultaneous stepwise-increasing of all three growth factors most effectively enhanced the performance of microalgae. Through this strategy, >96% of CO2 was continuously removed from biogas and the CH4 content in the purified biogas was >98%. This process also generated microalgal biomass at 4.40 g L-1 with a lipid content of 34.10%. The CO2 removal rate by this process was as high as 6.50 g- CO2 day-1 per 1 L microalgal culture. The microalgal lipids contained long chain fatty acids (C16-C18) >94% and their prospect fuel properties indicated their suitable use as biodiesel feedstocks. Part III is the optimization of the conditions for simultaneous biogas purification and pretreatment of anaerobic digester effluent from palm oil mill by immobilized oleaginous microalga Scenedesmus sp. in alginate gel beads. The optimal culture conditions for immobilized microalga were: the use of initial cell concentration at 106 cells mL-1 and bead volume to medium volume ratio at 25% v/v. The optimal conditions for simultaneous biogas purification and pretreatment of secondary effluent were: the use of diluted effluent at 4:1 and light intensity at 9.5 klux. Through these conditions, 88.46% of CO2 was removed from biogas and the methane content was increased more than 95%. The CO2 removal rate was 4.63 g- CO2 day-1 per 1 L-medium. After process operation, the immobilized microalgae effectively removed COD >71% and all of nitrogen and phosphorus. The final microalgal biomass obtained was 2.98 g L-1 with high lipid content of 35.92%. The pigments including chlorophylls and carotenoids in biomass were 45.97 and 26.06 mg g-1 biomass, respectively. Fatty acid compositions of microalgal lipids were C16-C18 (>98%). Part IV aimed to increase the lipid content of oleaginous microalgae via nutrient starvations and optimize the cost-effective harvesting process. Two locally isolated oleaginous microalgae from Songkhla Lake in Thailand were identified as Micractinium reisseri SIT04 and Scenedesmus obliquus SIT06. Starvation of either ferrous or phosphorus did not significantly affect cell growth but the starvation of nitrogen did limit cell growth of both strains. However, the nitrogen starvation stimulated lipid content of both strains by 1.5-1.6 folds which were higher than the lipid content increased by ferrous and phosphorus starvation (1.2 folds). S. obliquus SIT06 could grow and accumulated higher lipid content. The lipid accumulated during nitrogen starvation contained higher content of saturated fatty acids. The harvesting process through bioflocculation was optimized by Response Surface Methodology (RSM). The maximum flocculation efficiency greater than 99% was achieved using minimum dosage of chitosan at 64 mg L-1 which are fairly costeffective at estimated chitosan around 0.098 Bath per gram microalgae biomass. Part V aimed to optimize the photoautotrophic cultivation of S. obliquus SIT06 using RSM and to harvest microalgal cells by co-pelletization with filamentous fungi. The optimal conditions for photoautotrophic cultivation of S. obliquus SIT06 were: pH of 8.0, NaNO3 as a nitrogen source at concentration of 1.1 g L-1, and light intensity of 87 μmol proton m-2 s-1. Under these conditions, the highest microalgal biomass obtained was 1.99 g L-1 with a high lipid content of 40.86%. To simplify harvesting process of microalgal cells, pellet-forming filamentous fungi were inoculated into the late log-phase of microalgae culture. Among the fungi tested, Cunninghamella echinulata TPU 4652 most effectively harvested the microalgal cells with the highest flocculation efficiency of 92.7%. Moreover, the biomass and lipids of microalgae-fungi pellets were as high as 4.45 and 1.21 g L-1, respectively. The extracted lipids were mainly composed of C16:0, C18:0 and C18:1, and their estimated fuel properties meet with the international standards indicating their potential use as biodiesel feedstocks. Part VI is the development of the rapid method for harvesting and immobilizing oleaginous microalgae using pellet-forming filamentous fungi. Among the fungi tested, Trichoderma reesei QM 9414 showed superior pellet forming ability under shaking speed at 100 rpm. Its pellets were used to harvest oleaginous microalga Scenedesmus sp. With increasing volume ratio of fungal pellets to microalgae culture up to 1:2, >94% of microalgal cells were rapidly harvested within 10 min. The ratio of fungal pellets could manipulate both harvesting time and initial concentration of microalgal cells in the pellets. The microalgae-fungal pellets were successfully used as immobilized cells for effective phytoremediation of secondary effluent from seafood processing plants under nonsterile condition. The chemical oxygen demand, total nitrogen, and total phosphorus removal were >74%, >44%, and >93%, respectively. The scanning electron microscopy showed that the microalgal cells were not only entrapped in the pellets but also got attached to the fungal hyphae with sticky exopolysaccharides, possibly secreted by the fungi. The extracted lipids from the pellets were mainly composed of C16-C18 (>83%) with their suitability as biodiesel feedstocks. This study has shown that oleaginous microalgae are the promising microorganisms that can be used not only for effective biogas purification but also production of lipids with high potential as biodiesel feedstocks. The effective strategies to increase microalgal growth, lipid content, CO2 removal efficiency as well as the effective harvesting process and innovative immobilization of microalgae have been proposed. The oleaginous microalgae also show high ability for being used in phytoremediation of industrial wastewater. The extracted lipids from both microalgae and microalgae-fungal pellets have similar fatty acid compositions with those of plant oils. This study may contribute greatly to the biogas industry and the industrialized microalgae based biofuel production.
Abstract(Thai): สาหร่ายสายพันธุ์โอเลจีเนียสมีอัตราการกา จัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงสามารถ ใช้ในการทา บริสุทธ์ิก๊าซชีวภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ สาหร่ายสายพันธุ์นี้ยังสามารถสะสมไขมัน ภายในเซลล์ได้มากกว่าร้อยละ 20 โดยน้า หนักแห้ง ทา ให้มีศักยภาพในการใช้แหล่งน้า มันสาหรับ การผลิตไบโอดีเซลได้อีกด้วย การศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนากระบวนการเพาะเลี้ยงสาหร่าย สาหรับการทา บริสุทธ์ิก๊าซชีวภาพร่วมกับการผลิตไขมันอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะรวมถึงการ พัฒนากระบวนการเก็บเกี่ยวสาหร่าย การตรึงรูปสาหร่ายเพื่อนา กลับมาใช้ซ้า และความสามารถของ สาหร่ายในการบา บัดน้า ทิ้งโรงงานอุตสาหกรรม โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 6 ตอน ตอนที่ 1 การเพาะเลี้ยงสาหร่ายไขมันสูงหลายสายพันธุ์ด้วยก๊าซชีวภาพ เพื่อศึกษา ความสามารถของสาหร่ายในการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และการเพิ่มปริมาณก๊าซมีเทน ในก๊าซชีวภาพ ผลการทดลองพบว่าสาหร่ายไขมันสูงสามารถใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่อยู่ใน ก๊าซชีวภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ (>90%) และสามารถสะสมไขมันภายในเซลล์ได้สูงในช่วง ร้อยละ 24-42 โดยสาหร่ายสายพันธุ์ Scenedesmus sp. เป็นสาหร่ายที่มีประสิทธิภาพสูงสุดใน การกา จัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จากการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของการเพาะเลี้ยงสาหร่ายเพื่อ ทา บริสุทธ์ิก๊าซชีวภาพและผลิตไขมัน พบว่าอัตราการพ่นก๊าซชีวภาพที่ 0.3 ปริมาตรอากาศต่อ ปริมาตรอาหารต่อชั่วโมง หัวเชื้อสาหร่ายเริ่มต้น 107 เซลล์ต่อมิลลิลิตร การเติมโพแทสเซียมไน เตรตเป็นแหล่งไนโตรเจน 0.8 กรัมต่อลิตร และการให้แสงที่ความเข้มแสง 5.5 กิโลลักซ์ เป็น สภาวะที่เหมาะสมที่ทาให้สาหร่ายสามารถกาจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และทาให้ปริมาณก๊าซ มีเทนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 60 เป็นมากกว่าร้อยละ 90 คิดเป็นอัตราการกา จัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ สูงถึง 5.097 กรัมของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อลิตรต่อวัน และอัตราการผลิตไขมันเท่ากับ 88.57 มิลลิกรัมต่อลิตรต่อวัน นอกจากนี้ยังพบว่าการใช้กลยุทธ์เพิ่มอัตราการพ่นก๊าซชีวภาพแบบ ขั้นบันได สามารถส่งเสริมการเจริญของสาหร่ายและทา ให้สาหร่ายมีชีวมวลสุดท้ายและปริมาณ ผลผลิตไขมันเพิ่มขึ้น 1.25 และ 1.79 เท่า ตามลา ดับ เมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบไขมันจากสาหร่าย พบว่าเป็นกรดไขมันอิ่มตัวที่มีความเสถียรต่อการเกิดออกซิเดชั่นและมีคุณภาพในการจุดติดไฟสูง ตอนที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพการทา บริสุทธ์ิก๊าซชีวภาพและการผลิตไขมันของ สาหร่ายไขมันสูงสายพันธุ์ Scenedesmus sp. โดยการศึกษากลยุทธ์การเพิ่มระดับปัจจัยการเจริญ แบบขั้นบันได ซึ่งมีปัจจัยการเจริญที่ศึกษาได้แก่ ความเข้มแสง ความเข้มข้นของไนโตรเจน และ อัตราการพ่นก๊าซชีวภาพ พบว่ากลยุทธ์การเพิ่มอัตราการพ่นก๊าซชีวภาพแบบขั้นบันไดเหมาะสมกับ การเจริญและการผลิตไขมันของสาหร่าย ในขณะที่กลยุทธ์การเพิ่มความเข้มแสงแบบขั้นบันได เหมาะสมกับการกา จัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และพบว่ากลยุทธ์การเพิ่มปัจจัยทั้งสามปัจจัยพร้อม กันแบบขั้นบันได ทา ให้สาหร่ายมีการเจริญ การผลิตไขมัน และมีประสิทธิภาพในการกา จัดก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์สูงสุด ทา ให้ก๊าซชีวภาพที่ผ่านระบบการเพาะเลี้ยงสาหร่ายมีปริมาณก๊าซมีเทน เพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 98 คิดเป็นอัตราการกา จัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เท่ากับ 6.50 กรัมต่อวัน ต่อลิตรอาหาร ภายใต้กลยุทธ์ข้างต้นยังทา ให้ได้ชีวมวลของสาหร่ายสูงถึง 4.40 กรัมต่อลิตร และมี ปริมาณไขมันสะสมที่ร้อยละ 34.10 ไขมันสาหร่ายที่สกัดได้ประกอบด้วยกรดไขมันที่มีความยาว คาร์บอน 16 – 18 อะตอมในสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 94 ตอนที่ 3 การหาสภาวะที่เหมาะสมของการทา บริสุทธ์ิก๊าซชีวภาพพร้อมกับการ บา บัดน้า ทิ้งจากบ่อบา บัดไร้อากาศโรงงานสกัดน้า มันปาล์มโดยการเพาะเลี้ยงสาหร่ายไขมันสูงสาย พันธุ์ Scenedesmus sp. ตรึงรูปในเม็ดเจลอัลจิเนต ผลการทดลองพบว่าความเข้มข้นของหัวเชื้อ สาหร่ายเริ่มต้นและอัตราส่วนปริมาตรเจลอัลจิเนตต่อปริมาตรอาหารที่เหมาะสมสาหรับการตรึงรูป สาหร่าย คือ 106 เซลล์ต่อมิลลิลิตรและร้อยละ 25 ตามลาดับ และพบว่าสภาวะที่เหมาะสมสาหรับ การเพาะเลี้ยงสาหร่ายตรึงรูป คือ การใช้น้า ทิ้งที่อัตราส่วนน้า ต่อน้า ทิ้ง 4:1 และความเข้มแสง 9.5 กิโลลักซ์ ภายใต้สภาวะดังกล่าวสาหร่ายตรึงรูปสามารถกาจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ร้อยละ 88.46 และทา ให้ปริมาณก๊าซมีเทนในก๊าซชีวภาพเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 95 คิดเป็นอัตราการกา จัด ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เท่ากับ 4.63 กรัมต่อวันต่อลิตรอาหาร นอกจากนี้สาหร่ายตรึงรูปยัง สามารถลดค่าซีโอดีในน้า ทิ้งได้มากกว่าร้อยละ 71 และสามารถลดปริมาณไนโตรเจนและปริมาณฟอสฟอรัสได้ทั้งหมด โดยชีวมวลสาหร่ายสุดท้ายมีปริมาณ 2.98 กรัมต่อลิตร และมีปริมาณไขมัน ร้อยละ 35.92 นอกจากนี้ชีวมวลสาหร่ายยังมีปริมาณสารสีที่ประกอบด้วยคลอโรฟิ ลล์และแคโรที นอยด์เท่ากับ 45.97 และ 26.06 มิลลิกรัมต่อกรัมชีวมวลสาหร่าย ตามลาดับ เมื่อวิเคราะห์ องค์ประกอบไขมันที่ได้พบว่าประกอบด้วยกรดไขมันที่มี่สัดส่วนของคาร์บอน 16 – 18 อะตอม มากกว่าร้อยละ 98 ตอนที่ 4 การศึกษาการเพิ่มปริมาณไขมันในสาหร่ายไขมันสูงโดยการจากัด สารอาหาร และการหาสภาวะที่เหมาะสมในการเก็บเกี่ยวชีวมวลสาหร่าย โดยเปรียบเทียบการ เพาะเลี้ยงสาหร่ายไขมันสูง 2 สายพันธุ์ที่แยกได้จากทะเลสาบสงขลาในประเทศไทย ได้แก่ สาย พันธุ์Micractinium reisseri SIT04 และ Scenedesmus obliquus SIT06 ผลการทดลองพบว่า การจากัดธาตุเหล็กและฟอสฟอรัสไม่มีผลต่อการเจริญของสาหร่ายอย่างมีนัยสาคัญ ในขณะที่การ จากัดไนโตรเจนทาให้สาหร่ายมีการเจริญลดลง แต่การจากัดไนโตรเจนทาให้สาหร่ายมีปริมาณ ไขมันเพิ่มขึ้น 1.5-1.6 เท่า ซึ่งมากกว่าปริมาณไขมันที่เพิ่มขึ้นจากการจา กัดธาตุเหล็กและ ฟอสฟอรัส (1.2 เท่า) โดยสาหร่ายสายพันธุ์ S. obliquus SIT06 ให้การเจริญและสะสมไขมันได้ สูงกว่า และพบว่าสาหร่ายมีการสะสมไขมันที่มีองค์ประกอบกรดไขมันอิ่มตัวสูงขึ้นภายใต้สภาวะ การจา กัดไนโตรเจน สาหรับการเก็บเกี่ยวชีวมวลสาหร่ายเป็นการใช้สารช่วยตกตะกอนไคโตซาน จากการหาสภาวะที่เหมาะสมโดยวิธีพื้นผิวตอบสนอง (Response Surface Methodology: RSM) พบว่าสามารถใช้ปริมาณไคโตซานเพียง 64 มิลลิกรัมต่อลิตร ในการตกตะตอนสาหร่ายได้ มากกว่าร้อยละ 99 คิดเป็นค่าใช้จ่าย 0.098 บาทต่อกรัมสาหร่าย ตอนที่ 5 เป็นการหาสภาวะที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงสาหร่าย S. obliquus SIT06 แบบโฟโตออโตทรอฟิกด้วยวิธี RSM และศึกษาการเก็บเกี่ยวชีวมวลสาหร่ายด้วยวิธีสร้าง เพเลตของเชื้อราชนิดสาย ผลการทดลองพบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการเลี้ยงสาหร่าย คือความเข้ม แสงที่ระดับ 87 ไมโครโมลโปรตอนต่อตารางเมตรต่อวินาที ความเข้มข้นของโซเดียมไนเตรตที่ใช้ เป็นแหล่งไนโตรเจนเท่ากับ 1.1 กรัมต่อลิตร และค่าพีเอชเริ่มต้นเท่ากับ 8 โดยสาหร่ายสามารถผลิต ชีวมวลสาหร่ายได้สูงสุดเท่ากับ 1.99 กรัมต่อลิตร และสาหร่ายมีการสะสมไขมันสูงถึงร้อยละ 40.86 สาหรับการเก็บเกี่ยวชีวมวลสาหร่าย ได้ศึกษาการเติมสปอร์ของเชื้อราชนิดสายลงไปใน อาหารเลี้ยงสาหร่ายที่อยู่ในระยะ late-log phase พบว่าเชื้อราชนิดสาย Cunninghamella echinulata TPU 4652 สามารถเก็บเกี่ยวชีวมวลสาหร่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้ค่า ประสิทธิภาพการเก็บเกี่ยวชีวมวลสูงสุดถึงร้อยละ 92.7 และชีวมวลรวมของเพเลตสาหร่าย-เชื้อรา (microalgae-fungi pellets) ที่เก็บเกี่ยวได้มีน้า หนักเท่ากับ 4.45 กรัมต่อลิตร และมีปริมาณไขมัน เท่ากับ 1.21 กรัมต่อลิตร ไขมันที่สกัดได้มีองค์ประกอบหลักเป็นกรดไขมันสายยาวประเภท C16:0, C18:0 และ C18:1 ที่มีคุณสมบัติทางเชื้อเพลิงสอดคล้องกับมาตรฐานไบโอดีเซลสากล แสดงให้เห็นว่ามีศักยภาพในการนา ใช้เป็นแหล่งน้า มันสา หรับผลิตไบโอดีเซล ตอนที่ 6 เป็นการศึกษาวิธีการที่รวดเร็วในการเก็บเกี่ยวและตรึงรูปชีวมวลสาหร่าย ไขมันสูงโดยใช้เพเลตเชื้อราชนิดสาย (pellet-forming filamentous fungi) พบว่าเชื้อราชนิดสาย สายพันธุ์ Trichoderma reesei QM9414 มีความสามารถในการสร้างเพเลตได้ดีที่สุดภายใต้อัตรา การเขย่าเท่ากับ 100 รอบต่อนาที จึงนามาใช้ในการเก็บเกี่ยวและตรึงชีวมวลสาหร่ายไขมันสูงสาย พันธุ์ Scenedesmus sp. การใช้อัตราส่วนของปริมาตรเพเลตเชื้อราต่อปริมาตรสาหร่ายที่ 1:2 ทา ให้สามารถเก็บเกี่ยวชีวมวลสาหร่ายได้มากกว่าร้อยละ 94 ภายในระยะเวลา 10 นาที อัตราส่วนของ เพเลตเชื้อราต่อปริมาณสาหร่ายที่ใช้มีผลต่อระยะเวลาในการเก็บเกี่ยวและปริมาณเซลล์สาหร่าย เริ่มต้นในตัวตรึง สาหร่ายตรึงรูปด้วยเชื้อราสามารถนา ไปบา บัดน้า ทิ้งจากโรงงานอาหารทะเลได้ อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้สภาวะที่ไม่มีการฆ่าเชื้อ โดยสามารถลดค่าซีโอดี ปริมาณไนโตรเจน และปริมาณฟอสฟอรัสได้มากกว่าร้อยละ 74, 44 และ 93 ตามลาดับ ภาพถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (scanning electron microscopy: SEM) แสดงให้เห็นว่าเซลล์ สาหร่ายไม่เพียงถูกกักเก็บในเพเลตเชื้อรา แต่ยังถูกตรึงด้วยเอ็กโซพอลิแซ็กคาไรด์ที่อยู่บนเส้นใย ของเชื้อรา ไขมันที่สกัดได้จากเพเลตสาหร่าย-เชื้อราประกอบด้วยกรดไขมันสายยาวซึ่งมีความยาว ของคาร์บอนระหว่างช่วง 16 – 18 มากกว่าร้อยละ 83 ซึ่งเหมาะสมสาหรับใช้ในการผลิตไบโอ ดีเซล การศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของสาหร่ายไขมันสูงในการทา บริสุทธ์ิก๊าซ ชีวภาพ และผลิตไขมันที่มีศักยภาพเป็นแหล่งน้า มันสาหรับผลิตไบโอดีเซล รวมทั้งได้นา เสนอกล ยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการเจริญ การสะสมไขมัน และการกาจัดก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ของสาหร่าย ซึ่งเป็นการพัฒนากระบวนการและนวัตกรรมของการเก็บเกี่ยว สาหร่ายที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้สาหร่ายไขมันสูงยังมีความสามารถในการบา บัดน้า ทิ้งโรงงานอุตสาหกรรมได้ โดยน้า มันที่สกัดได้จากทั้งสาหร่ายและเพเลตสาหร่าย-เชื้อรามีองค์ประกอบที่ คล้ายกับของน้า มันพืชเช่น น้า มันปาล์ม คาดว่าผลการวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมก๊าซ ชีวภาพ และการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพจากสาหร่าย
Description: Doctor of Philosophy (Biotechnology), 2018
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19022
Appears in Collections:853 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
433350.pdf12.68 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons