กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18995
ชื่อเรื่อง: | A magnetic hierarchical molecularly imprinted polymer nanocomposite adsorbent embedded with a zinc oxide carbon foam for the extraction of sulfonamides |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | ตัวดูดซับอนุภาคแม่เหล็กนาโนคอมโพสิทแบบลำดับขั้นพอลิเมอร์ลอกแบบโมเลกุล ร่วมกับนาโนซิงค์ออกไซด์คาร์บอนโฟมสำหรับการสกัดสารซัลโฟนาไมด์ |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | Opas Bunkoed Ananya Kliangsuwan Faculty of Science (Chemistry) คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเคมี |
คำสำคัญ: | Sulfonamides;Carbon foam;Molecularly imprinted polymer;Composite;Magnetic;Zinc oxides |
วันที่เผยแพร่: | 2022 |
สำนักพิมพ์: | Prince of Songkla University |
บทคัดย่อ: | This thesis aimed to develop a hierarchical nanocomposite adsorbent incorporated a zinc oxide and carbon foam embedded in a magnetic molecularly imprinted polymer (ZnO@CF@Fe3O4-SiO2-NH2@MIP). The adsorbent was utilized for the extraction and determination of sulfonamides. The fabricated adsorbent was characterized, the fabrication and extraction conditions were optimized and the extracted sulfonamides were determined using high performance liquid chromatography. The zinc oxide carbon foam helps to improve the adsorption of sulfonamides. The molecularly imprinted polymer provided highly specific recognition cavities for three sulfonamides and the magnetic material enabled the rapid isolation of the adsorbent after adsorption and desorption. Under optimum conditions, the developed method provided a good linearity from 2.0 to 150.0 g L-1 with the coefficient of determination better than 0.995. The limit of detection and limit of quantification were 2.0 and 5.0 g L-1 , respectively. The developed method was successfully applied to determine sulfonamides in milk and water samples with extraction recoveries between 84.3 and 96.2 % and RSDs lower than 7 %. The advantages of the developed nanocomposite adsorbent are high specificity and extraction efficiency, simplicity and convenience, and good stability that enables reuse. |
Abstract(Thai): | วิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาตัวดูดซับชนิดใหม่ โดยใช้ตัวดูดซับอนุภาคแม่เหล็กเคลือบซิลิกาและซิงค์ออกไซด์คาร์บอนโฟมร่วมกับพอลิเมอร์ที่มีความจำเพาะสูง สำหรับสกัดเพื่อเพิ่มความเข้มข้นสารซัลโฟนาไมด์ในตัวอย่างนมและน้ำ โดยตรวจวิเคราะห์ด้วยเทคนิคโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง ตัวดูดซับที่พัฒนาขึ้นอาศัยคุณสมบัติแม่เหล็กช่วยในการแยกตัวดูดซับจากตัวอย่างได้ง่ายและรวดเร็ว โดยอนุภาคแม่เหล็กขนาดนาโนเมตรเคลือบด้วยซิลิกาช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวสำหรับการสกัดและคอมโพสิทร่วมกับซิงค์ออกไซด์คาร์บอนโฟมเพื่อเพิ่มอันตรกิริยาระหว่างซัลโฟนา ไมด์และตัวดูดซับ ซึ่งสามารถเกิดอันตรกิริยาแบบ π-π และไฮโดรโฟบิก นอกจากนี้เพิ่มความจำเพาะเจาะจงสูงด้วยพอลิเมอร์ลอกแบบโมเลกุล การประยุกต์ใช้วัสดุเหล่านี้ร่วมกันส่งผลให้ประสิทธิภาพในการสกัดสูงขึ้น รวดเร็วและมีความจำเพาะเจาะจงต่อซัลโฟนาไมด์ ได้ศึกษาสภาวะที่เหมาะสม ได้แก่ ปริมาณของตัวดูดซับของแข็ง พีเอชของสารตัวอย่าง เวลาที่ใช้ในการสกัด ชนิดและปริมาณตัวทำละลายที่ใช้ชะสารตัวอย่างออกจากตัวดูดซับ เวลาที่ใช้ในการชะสาร และผลของเกลือ ภายใต้สภาวะที่ เหมาะสม วิธีที่พัฒนาขึ้นให้ค่าช่วงความเป็นเส้นตรงที่ดีสำหรับการตรวจซัลโฟนาไมด์ตั้งแต่ 2.0 ถึง 150 ไมโครกรัมต่อลิตร มีขีดจำกัดการตรวจวัดเท่ากับ 2.0 ไมโครกรัมต่อลิตร ตัวดูดซับที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพในการสกัดที่ดีโดยมีค่าร้อยละการได้กลับคืนอยู่ในช่วงร้อยละ 84.3 ถึง 96.2 และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์น้อยกว่าร้อยละ 7 ตัวดูดซับที่พัฒนาขึ้นมีข้อดีคือ มีความจำเพาะสูงและมีประสิทธิภาพในการสกัด ง่ายและสะดวก และความเสถียรที่ดีทำให้สามารถนำกลับมาใช้ซ้ำได้ |
รายละเอียด: | Master of Science (Chemistry (International Program)), 2022 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18995 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | 324 Thesis |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
6310220010.pdf | 5.44 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License