กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18993
ชื่อเรื่อง: Big Data Analytics for Predicting Coral Bleaching in Samui Island Area, Suratthani Province
ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่สำหรับดารทำนายปะการังฟอกขาวในพื้นที่เกาะสมุยจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: Supattra Puttinaovarat
Tanatpong Udomchaipitak
Faculty of Science and Industrial Technology
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
คำสำคัญ: Coral Bleaching;Big Data Analytics;Predictive Model;Sensorization of Pontoons
วันที่เผยแพร่: 2022
สำนักพิมพ์: Prince of Songkla University
บทคัดย่อ: This research investigates coral bleaching by collecting sea temperature data and seawater acidity. Through the technology of the Internet of Things together with LoRa and satellite data acquisition. We test the effectiveness of predicting coral bleaching in the Samui island area of Suratthani province which consists of an SVM, Naive Bayes, Logistic regression model, and data visualization using spatial analysis techniques. The result of this study was found that three important parameters for the development of LoRa devices are spreading factor, bandwidth, and code rate. The most important parameter to set up and affect the RSSI value is the spreading factor. After we studied and tested the system with LoRa, we tested the effectiveness of the model in various datasets. We found that the SVM model had accurate on data from a pontoon. The model's performance was tested using two techniques: split test, and K fold crossvalidation. We visualize of information gathered from various sources shows the risk of coral bleaching during the data collection period. The most clearly shown source is the pontoon source.
Abstract(Thai): งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการฟอกสีปะการังโดยรวบรวมข้อมูลอุณหภูมิน้ําทะเลและความเป็นกรด ของน้ําทะเล ผ่านเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งร่วมกับ LoRa และการเก็บข้อมูลดาวเทียม เพื่อ ทดสอบประสิทธิภาพของแบบจําลองต่าง ๆสําหรับการทํานายการฟอกขาวของปะการังบริเวณเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งประกอบด้วย SVM, Naive Bayes, Logistic Regression Model และนําเสนอ ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ผลการศึกษาและการทดสอบ พบว่า พารามิเตอร์ที่สําคัญสาม ประการสําหรับการพัฒนาอุปกรณ์ LoRa ได้แก่ Spreading Factor, Bandwidth และ Code Rate พารามิเตอร์ที่สําคัญที่สุดในการตั้งค่าและส่งผลต่อค่า RSSI คือ Spreading Factor หลังจากการศึกษาและ ทดสอบ LoRaผู้วิจัยได้ทดสอบประสิทธิภาพของแบบจําลองในชุดข้อมูลต่าง ๆ พบว่าแบบจําลอง SVM มี ความแม่นยําที่ดีกับข้อมูลจากทุ่นที่ติดตั้งอุปกรณ์อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง นอกจากนี้ประสิทธิภาพของ แบบจําลองได้รับการทดสอบโดยใช้เทคนิค Split test และK Fold Cross Validation หลังจากทดสอบ ประสิทธิภาพของแบบจําลองเสร็จเรียบร้อย ได้ทําการนําเสนอแผนภาพที่รวบรวมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ แสดงให้เห็นความเสี่ยงของการฟอกขาวของปะการังในช่วงระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูล แหล่งข้อมูลที่ แสดงให้เห็นความเสี่ยงอย่างชัดเจนที่สุด คือแหล่งข้อมูลจากทุ่นที่ติดตั้งอุปกรณ์อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
รายละเอียด: Master of Science (Applied Mathematics and Computing Science), 2022
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18993
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:932 Thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
6340320504.pdf10.57 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons