กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18229
ชื่อเรื่อง: The Effects of Using a Positive Psychology Activity Continue on Enhancing Positive Thinking for Junior High School
ชื่อเรื่องอื่นๆ: ผลการใช้ชุดกิจกรรมจิตวิทยาเชิงบวกต่อการเสริมสร้างความคิดเชิงบวกแก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: สุใจ ส่วนไพโรจน
อุษณี กีรติวิโรจน์กุล
Faculty of Education (Physical Education)
คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาพลศึกษา
คำสำคัญ: positive psychology activity set;junior high school students;ชุดกิจกรรมจิตวิทยาเชิงบวก;ความคิดเชิงบวก;นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
วันที่เผยแพร่: 2023
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทคัดย่อ: This is a quasi-experimental research. The research aims to compare the positive thinking of junior high school students before using the positive psychology activity and after using the activity for 6 weeks and 12 weeks respectively. The sample group are 42 Mattayom 2 students studying at Ban Sala Mai School. The research instrument is a series of positive psychology activities to promote positive thinking and the positive thinking test with a reliability of 0.94. The activity was conducted for 12 weeks, 1 hour per week, for a total duration of 12 hours. The statistics used in the data analysis were mean, standard deviation, and t-test. The results of the research revealed that junior high school students who participated in the positive psychology activity package had positive thoughts in the experimental and posttest periods than before the experiment with a statistical significance of .01 and found that students who attended Participating in the use of the activity packs gained the most confidence-positive thoughts. and the least commitment
Abstract(Thai): การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจยัก่ึงทดลอง (Experimental Research) วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาชุดกิจกรรมจิตวิทยาเชิงบวกต่อการเสริมสร้างความคิดเชิงบวกของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2) เปรียบเทียบความคิดเชิงบวกของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นก่อน-ระหว่าง - หลังการใช้ชุดกิจกรรมจิตวิทยาเชิงบวก กลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ที่มีคะแนนความคิดเชิงบวกอยู่ในระดับปานกลาง และมีความสมัครใจในการเข้าร่วมกิจกรรม จ านวน 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ชุดกิจกรรมจิตวิทยาเชิงบวกต่อการเสริมสร้างความคิดเชิงบวกและแบบวัดความคิดเชิงบวกที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.94 โดยได้ดำเนินกิจกรรมเป็นเวลา 12 สัปดาห์ สัปดาห์ละ1 ชั่วโมง รวมระยะเวลาทั้งหมด 12 ชั่วโมง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้มูลได้แก่ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่เข้าร่วมการใช้ชุดกิจกรรมจิตวิทยา เชิงบวกมีความคิดเชิงบวกในระยะทดลองและหลังทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และพบว่านักเรียนที่เข้าร่วมการใช้ชุดกิจกรรมเกิดความคิดเชิงบวกด้านความมั่นใจมากที่สุด และด้านความมุ่งมั่นน้อยที่สุด
รายละเอียด: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยา), 2566
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18229
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:281 Thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
6120121007.pdf1.5 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons