กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18082
ชื่อเรื่อง: | การศึกษาสมรรถนะของพยาบาลรังสีรักษา |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | A Study of Radiation Oncology Nurses’ Competency |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | ปรัชญานันท์ เที่ยงจรรยา ประภาพร ชูกำเหนิด อารยา สะเม๊าะ Faculty of Nursing (Nursing Administration) คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาการบริหารทางการพยาบาล |
คำสำคัญ: | พยาบาลรังสีรักษา;สมรรถนะพยาบาล |
วันที่เผยแพร่: | 2022 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
บทคัดย่อ: | The purpose of this research was to identify radiation oncology nurses’ competency by using the EDFR method. Participants were 21 experts divided into 4 groups: 1) oncology nurse administrators, 2) oncology nurse, 3) radiology and oncology physicians, and 4) radiologic technicians and medical physicists. The research method consisted of 3 steps: 1) interviewing 21 experts using open-ended questions, 2) ranking the importance of the questions from the first round by the same group of experts, 3) analyzing the questions using median and interquartile range to develop a new version of the questionnaire. The questionnaire was sent to previous experts to confirm the previously ranked items. Data were analyzed again using median and interquartile range. Results showed that radiation oncology nurses’ competency comprised 9 components : 1) 5 items of holistic health assessment, 2) 5 items of caring for cancer patients undergone radiotherapy, 3) 3 items of relationship and trust, 4) 5 items of health education and counseling, 5) 3 items of continuity of care, 6) 5 items of technology competence, 7) 3 items of research and knowledge development, 8) 4 items of leadership, and 9) 3 items of palliative care competence. Nurse administrators can use this result as a guideline to recruit, develop and evaluate the competency of radiation oncology nurses. |
Abstract(Thai): | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะของพยาบาลรังสีรักษา โดยใช้ เทคนิค EDFR ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้เชี่ยวชาญ 21 คน ประกอบด้วย 4 กลุ่ม คือ 1) ผู้บริหารทางการ พยาบาลรังสีรักษา 2) พยาบาลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านการดูแลผู้ป่วยรังสีรักษา 3) แพทย์เฉพาะ ทางรังสีรักษาและมะเร็งวิทยา และ 4) นักฟิสิกส์การแพทย์และนักรังสีการแพทย์ วิธีดำเนินการวิจัยมี 3 ขั้นตอน 1) รวบรวมความคิดเห็นจากการสอบถามผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 21 คน โดยใช้คำถาม ปลายเปิด 2) ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มเดิมให้ข้อคิดเห็นและประเมินค่าระดับความสำคัญที่สร้างจาก แบบสอบถามรอบแรก 3) คำนวณค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ส่งแบบสอบถามให้ ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มเดิมยืนยันคำตอบอีกครั้ง หลังจากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้มาคำนวณค่ามัธยฐานและค่า พิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัย พบว่า สมรรถนะของพยาบาลรังสีรักษา มี 9 ด้าน ได้แก่ 1) สมรรถนะ การประเมินภาวะสุขภาพองค์รวม 5 ข้อ 2) สมรรถนะการดูแลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับรังสีรักษา 5 ข้อ 3) สมรรถนะด้านสัมพันธภาพและความไว้วางใจ 3 ข้อ 4) สมรรถนะด้านการให้ความรู้/คำปรึกษา 5 ข้อ 5) สมรรถนะด้านการดูแลอย่างต่อเนื่อง 3 ข้อ 6) สมรรถนะด้านเทคโนโลยี 5 ข้อ 7) สมรรถนะด้าน การพัฒนาความรู้/การวิจัย 3 ข้อ 8) สมรรถนะด้านภาวะผู้นำ 4 ข้อ 9) สมรรถนะการดูแลแบบ ประคับประคอง 3 ข้อ ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำผลการวิจัยที่ได้มาเป็นแนวทางในการคัดเลือก พัฒนาสมรรถนะ และใช้เป็นแนวทางในการประเมินสมรรถนะของพยาบาลรังสีรักษา |
รายละเอียด: | พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต (การบริหารทางการพยาบาล), 2565 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18082 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | 649 Thesis |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
6310420038.pdf | 1.81 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License