Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17960
Title: ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองและผู้ดูแลระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน การกลับมารักษาซ้ำ และความสามารถในการดูแลผู้ป่วยของผู้ดูแล โรงพยาบาลทั่วไปแห่งหนึ่งของภาคใต้
Other Titles: Effect of Transitional Care Program for Elderly Stroke Patients and Caregivers on Patient’s Activities of Daily Living, Readmission and Caregiver’s Ability at General Hospital of the South
Authors: บุศรา หมื่นศรี
เกศริน เอกวิชัย
Faculty of Nursing (Adult and Elderly Nursing)
คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
Keywords: การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน;ผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง;โรคหลอดเลือดสมอง;การดูแลผู้ป่วย
Issue Date: 2021
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: This quasi experimental research aimed to examine the effects of a transitional care program for elderly patients with stroke and caregivers on patients activities of daily living, readmission, and caregiver’s ability. Purposive sampling was used to select elderly patients with stroke and caregivers who were admitted at a general hospital of the south. A total of 60 dyads of elderly patients with stroke and their caregivers were recruited into this study. The first 30 dyads of elderly patients with stroke and caregivers were assigned to the control group, receiving a usual care. The other 30 were assigned to the experimental group, receiving a transitional care program for 4 weeks, which was divided into 2 phases: (1) in–hospital phase, and (2) home visiting and telephone follow-up phase. The instruments used for the intervention consisted of (1) the transitional care program, (2) need assessment form for elderly patients with stroke and caregivers, (3) transitional care planning for elderly patients with stroke and caregivers, (4) teaching plan for the transitional care of elderly patients with stroke, (5) power point presentation, (6) handbook for elderly patients with stroke and caregivers, (7) identification book of elderly patients with stroke, (8) home visit tracking record, and (9) tracking phone record form. The data collection tools included (1) General Information Record Form for Stroke Patients and Caregivers, (2) Activities of Daily Living Questionnaire, (3) Readmission Records, and (4) Caregiver’s Abilities Questionnaire. All research instruments were verified by three experts for content validity. The reliability testing of the Caregiver’s Abilities Questionnaire showed a Cronbach’s alpha coefficient of .81. Data were analyzed using descriptive and inferential statistics. The study results revealed the following: 1. The mean score on the activities of daily living in the elderly patients with stroke after receiving the transitional care program was significantly higher than that of the pre-intervention (t = -6.45, p < .01) 2. The mean score on the activities of daily living in the elderly patients with stroke after receiving the transitional care program was significantly higher than that of the control group (t = -2.09, p < .05) 3. The readmission rate of the elderly patients with stroke was not significantly different between the two groups. 4. The mean score on caregiver’s abilities after receiving the transitional care program was significantly higher than that of the control group (t = -9.09, p < .01) The results of this study showed that a transitional care program for elderly patients with stroke and caregivers could improve the patients’ activities of daily living and caregivers’ abilities. Therefore, this program should be implemented for patients with stroke and caregivers during the transition of care.
Abstract(Thai): การวิจัยครั งนี เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการ ดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองและผู้ดูแลระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อ ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจ้าวัน การกลับมารักษาซ ้า และความสามารถในการดูแลผู้ป่วย ของผู้ดูแล กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองและผู้ดูแลที่เข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาลทั่วไปแห่งหนึ่งของภาคใต้ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่ก้าหนดไว้ จ้านวน 60 คู่ โดย 30 คู่แรกเป็นกลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ และ 30 คู่หลังเป็นกลุ่ม ทดลองที่ได้รับโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองและผู้ดูแลระยะเปลี่ยนผ่านจาก โรงพยาบาลสู่บ้าน โปรแกรมการดูแลใช้เวลาทั งหมด 4 สัปดาห์ แบ่งการดูแลออกเป็น 2 ระยะ คือ (1) ระยะที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล (2) ระยะการติดตามเยี่ยมที่บ้าน และการอ้านวยความ สะดวกทางโทรศัพท์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั งนี ประกอบด้วย (1) โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยสูงอายุ โรคหลอดเลือดสมองและผู้ดูแลระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน (2) แบบประเมินความ ต้องการของผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองและผู้ดูแล (3) แผนการดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอด เลือดสมองและผู้ดูแลระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน (4) แผนการสอนเรื่องการดูแลผู้ป่วย สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน (5) สื่อน้าเสนอภาพนิ่ง (6) คู่มือ ส้าหรับผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองและผู้ดูแล (7) สมุดประจ้าตัวผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือด สมอง (8) แบบบันทึกการติดตามเยี่ยมบ้าน และ (9) แบบบันทึกการโทรศัพท์ติดตามเยี่ยม เครื่องมือที่ ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย (1) แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยและผู้ดูแล (2) แบบ ประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจ้าวันของผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง (3) แบบ บันทึกการกลับมารักษาซ ้า และ (4) แบบประเมินความสามารถของผู้ดูแล ซึ่งเครื่องมือทั งหมดผ่าน การตรวจสอบความตรงเชิงเนื อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ตรวจสอบความเที่ยงโดยการค้านวณหา สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบประเมินความสามารถของผู้ดูแลได้เท่ากับ .81 วิเคราะห์ ข้อมูลทั่วไปโดยใช้สถิติบรรยาย และใช้สถิติทีในการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1. คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจ้าวันของผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอด เลือดสมองกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองและผู้ดูแลระยะ เปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (t = -6.45, p < .01) 2. คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจ้าวันของผู้ป่วยสูงอายุโรค หลอดเลือดสมองภายหลังได้รับโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองและผู้ดูแลระยะ เปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านสูงกว่าผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองกลุ่มควบคุมที่ได้รับการ พยาบาลตามปกติอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (t = -2.09, p < .05) 3. การกลับมารักษาซ ้าของผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองกลุ่มทดลองที่ได้รับ โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองและผู้ดูแลระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่ บ้านกับกลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลตามปกติไม่มีความแตกต่างกัน 4. คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองของ ผู้ดูแลกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองและผู้ดูแลระยะ เปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านสูงกว่าผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองกลุ่มควบคุมที่ได้รับ การพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (t = -9.09, p < .01) ผลจากการศึกษาวิจัยในครั งนี แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรค หลอดเลือดสมองและผู้ดูแลระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านช่วยเพิ่มความสามารถในการ ปฏิบัติกิจวัตรประจ้าวันของผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง และเพิ่มความสามารถในการดูแล ผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองของผู้ดูแลได้ ดังนั นจึงควรน้าโปรแกรมนี ไปใช้ในการปฏิบัติการ พยาบาลในระยะเปลี่ยนผ่านของผู้ป่วย
Description: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลผู้ใหญ่), 2564
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17960
Appears in Collections:646 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5910420015.pdf2.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons