Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17927
Title: | การวิเคราะห์การจัดการย่านกองเก็บตู้สินค้าคอนเทนเนอร์ สำหรับการขนส่งยางพาราและไม้ยางพาราทางรางของภาคใต้ |
Other Titles: | An Analysis of Container Yard Management for Rubber and Wood Rubber Transportation by Rail way in Southern |
Authors: | เสกสรร สุธรรมานนท์ วนัฐฌพงษ์ คงแก้ว สิริยาพร บุญฤทธิ์ Faculty of Engineering (Industrial Engineering) คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ |
Keywords: | Rail freight;Container Yard (CY);Geographic Information System (GIS);ระบบขนส่งคอนเทนเนอร์;การวิเคราะห์การลงทุน |
Issue Date: | 2021 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
Abstract: | The objective of this research is to determine the appropriate numbers of Container Yard (CY) for rubber and wood rubber transportation using railway in Southern of Thailand. The location allocation problem concept (LAP) and ArcGIS 10.2 program are employed for this research. There are three circumstances to analyze this problem: 1) modal shift from road to rail using two existing CYs, 2) modal shift from road to rail using two existing CYs and four new CYs according to Thai Railway plan, and 3) modal shift from road to rail using two existing CYs and five new CYs resulting from group discussions. The result indicates that the third situation with 6 CYs provides the lowest transportation cost. The transportation cost decreases from 1,097,496,213 Baht/year to 898,307,550 Baht/year, or 32% reduction. In term of investment analysis, the NPV is 4,000,109,320 baht, IRR is 171%, and the payback period is 1 year. All in all, an appropriate modal shift in freight transport shows a potential in transportation cost reduction. With this in mind, the research develops a vision of an efficient rail freight system in Southern of Thailand. |
Abstract(Thai): | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์จำนวนย่านกองเก็บตู้สินค้า คอนเทนเนอร์ (Container Yard: CY) ที่เหมาะสมสำหรับการขนส่งยางพาราและไม้ยางทางรางของภาคใต้ โดยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีปัญหาการหาที่ตั้งและการจัดสรร Location allocation problem (LAP) และใช้โปรแกรม ArcGIS 10.2 ในการแก้ปัญหา งานวิจัยนี้นำเสนอแนวทางในการวิเคราะห์ 3 แนวทางคือ 1) การเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งจากการขนส่งทางถนนเป็นการขนส่งทางรางโดยใช้ CY ที่มีอยู่ในปัจจุบัน 2) การเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งจากทางถนนเป็นทางรางโดยใช้ CY ที่มีอยู่ในปัจจุบัน และ CY ใหม่ที่จะเกิดขึ้นตามแผนของการรถไฟแห่งประเทศไทย และ 3) การเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งจากทางถนนเป็นทางรางโดยใช้ CY ที่มีอยู่ในปัจจุบันและ CY ใหม่อื่นๆตามความเหมาะสม จากการวิเคราะห์พบว่า แนวทางที่ 3 ซึ่งมี CY จำนวน 6 แห่ง เป็นแนวทางที่มีต้นทุนการขนส่งต่ำที่สุดคือ 898,307,550 บาท/ปี โดยลดจาก 1,097,496,213 บาท/ปี ในปัจจุบัน หรือลดลง 421,322,210 บาทต่อปี คิดเป็น ร้อยละ 32 จากศึกษาพบว่าการเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งยางพาราจากทางถนนเป็น การขนส่งทางรางสามารถลดต้นทุนในการขนส่งได้ ซึ่งจะส่งผลดีต่อการเพิ่มโอกาสทางการค้าและโอกาสทางการแข่งขัน รวมถึงระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย และจากผลการวิเคราะห์ทางการเงินของการลงทุนพบว่ามีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ 4,000,109,320 บาทมีระยะเวลาคืนทุน 1 ปี และมีอัตราผลตอบแทนภายใน 171% |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม. (วิศวกรรมโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2564 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17927 |
Appears in Collections: | 228 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6010120119.pdf | 9.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License