Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17701
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorดลินา อมรเหมานนท์-
dc.contributor.authorแสงอรุณ อิสระมาลัย-
dc.date.accessioned2022-12-19T03:06:22Z-
dc.date.available2022-12-19T03:06:22Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17701-
dc.identifier.urihttps://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/296500-
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectการเงินen_US
dc.subjectความรอบรู้ทางการเงินen_US
dc.subjectทักษะชีวิตen_US
dc.titleทักษะทางการเงินกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากร กรณีศึกษาจังหวัดตรังen_US
dc.title.alternativeThe effect of financial literacy on quality of life in Trang provnceen_US
dc.title.alternativeรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการ ทักษะทางการเงินกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากร กรณีศึกษาจังหวัดตรังen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Commerce and Management-
dc.contributor.departmentคณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ-
dc.description.abstract-thการสำรวจทักษะทางการเงินของคนในหลายประเทศทั่วโลกพบว่าระดับทักษะทางการเงินอยู่ในเกณฑ์ต่ำเช่นเดียวกันกับการสำรวจทักษะทางการเงินของคนไทยโดย OECD รวมถึงการสำรวจของธนาคารแห่ง ประเทศไทยร่วมกับส านักงานสถิติแห่งชาติ ก็ได้ผลไม่ขัดแย้งกัน ท าให้หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนต่าง ให้ความสำคัญที่จะเพิ่มทักษะทางการเงินของคนในชาติ เนื่องจากรู้ถึงประโยชน์ของการมีทักษะทางการเงิน ที่ดีอันเป็นรากฐานสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต งานวิจัยนี้ต้องการศึกษาว่าระดับทักษะทางการเงินมี ผลต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตประชากรอย่างไร โดยพิจารณาจากองค์ประกอบหลักทั้งสามด้านของทักษะ ทางการเงิน คือ ความรู้ทางการเงิน ทัศนคติการใช้จ่ายเงิน และพฤติกรรมทางการเงิน โดยใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัวกับประชากรจังหวัดตรัง ผลการศึกษาจากการประยุกต์ KAP Model โดยใช้ Structural Equation Model (SEM) พบว่าระดับทักษะทางการเงินมีผลต่อคุณภาพชีวิตของบุคคล โดย ปัจจัยด้านพฤติกรรมทางการเงินมีผลต่อระดับทักษะทางการเงินมากที่สุดผ่านทางองค์ประกอบด้านทัศนคติ ทางการเงิน ประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ คือความรู้ทางการเงินที่มีมากขึ้นไม่ได้ช่วยให้ บุคคลมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น นี่อาจเป็นเหตุผลว่าเพราะเหตุใดการส่งเสริมและผลักดันนโยบายให้ความรู้ ทางการเงินของภาครัฐในหลายประเทศรวมถึงประเทศไทยกลับไม่ได้มีผลท าให้ระดับทักษะทางการเงินของคนสูงขึ้น ดังนั้นหากต้องการยกระดับทักษะทางการเงิน ภาครัฐต้องมีความคาดหวังว่าเมื่อประชากรมีความรู้เข้าใจทางการเงินแล้ว บุคคลต้องปรับทัศนคติความเชื่อของตนจนนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อีกทั้งต้องสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้จริงดังคำกล่าวที่ว่า “เรียนรู้จนเข้าถึง จึงนำไปใช้อย่างได้ผล”en_US
Appears in Collections:942 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.