Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17676
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอรญา สุวรรณโณ-
dc.contributor.authorสมพร คุณวิชิต-
dc.contributor.authorสุวิทย์ สุวรรณโณ-
dc.date.accessioned2022-11-22T08:06:17Z-
dc.date.available2022-11-22T08:06:17Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17676-
dc.identifier.urihttps://rdo.psu.ac.th/ResearchProject/reDetail.php?pro_id=16124-
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่en_US
dc.subjectการท่องเที่ยวen_US
dc.titleโมบายล์แอปพลิเคชั่นเพื่อการสืบค้นเส้นทางอพยพหนีภัยและศูนย์พักพิงผู้ประสบภัยพิบัติ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดฝั่งอันดามันen_US
dc.title.alternativeThe Mobile Application for Searching Evacuation Routes and Emergency Shelters for promoting Tourism in Andaman provincesen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Public Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์-
dc.contributor.departmentFaculty of Environmental Management (Environmental Management)-
dc.contributor.departmentคณะการจัดการสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม-
dc.description.abstract-thการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจข้อมูลเส้นทางการอพยพ จุดรวมพล และศูนย์พักพิง ในจังหวัดฝั่งอันดามัน คือ ตรัง สตูล กระบี่ พังงา และภูเก็ต และสำรวจความต้องการข้อมูลที่มีในโมบายล์แอปพลิเคชั่น เพื่อนำมาเป็นฐานข้อมูลสำหรับพัฒนาโมบายล์แอพลิเคชั่นเพื่อการสืบค้นเส้นทางอพยพหนีภัยจุดรวมพลและศูนย์พักพิงสำหรับจังหวัดในฝั่งอันดามัน เมื่อสำรวจข้อมูลจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติจำนวน 757 คนพบว่า สิ่งที่นักท่องเที่ยวให้ความสำคัญสูงสุด 2 อันดับแรก คือโมบายล์แอปพลิเคชั่นต้องมี 2 ภาษา และ ฟังก์ชันการใช้งานต่างๆ ต้องเรียบง่ายและไม่ชับซ้อน งนี้โมบายล์แอปพลิเคชั่นที่พัฒนาขึ้นนั้นใช้เทคนิคการระบุตำแหน่ง (Location Based Service) และระบบพิกัตเชิงพื้นที่ (GPS) โดยสามารถระบุตำแหน่งของจุดรวมพล และสถานที่พักพิงได้ นอกจากนั้นยัง สามารถสืบคันเส้นทางการอพยพและนำทางไปยังสถานที่ปลอดภัยที่อยู่ใกล้เคียง สามารถแชร์ภาพ ณ สถานที่ เกิดเหตุเข้าสู่เครือข่ายสังคมออนไลน์ สืบค้นหาผู้เสียหายที่อยู่ในสถานที่พักพิงได้ โดยสามารถใช้งานได้ทั้งระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) และระบบปฏิบัติการไอโอเอส (IOS) และสามารถใช้งานได้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จากผลการสำรวจความพึงพอใจของการใช้งานแอปพลิเคชั่นจากเจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ชาวบ้านในชุมชนและนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ จำนวน 390 คน พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามรับรู้ถึงประโยชน์ของโมบายล์แอปพลิเคชั่นในการค้นหาข้อมูลเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยมากที่สุด ถึงร้อยละ 87.18 แอปพลิเคชั่นมีความง่ายในการใช้งานร้อยละ 82.05 และมีโอกาสในการโหลดมาใช้งานร้อย ละ 83.33en_US
Appears in Collections:460 Research
465 Research
820 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
MAN600249S-Abstract_Orraya.pdf242.49 kBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.