กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17384
ชื่อเรื่อง: | การตรวจสอบการล้มในผู้สูงอายุโดยตรวจสอบรูปแบบการเปลี่ยนแปลงของจุดศูนย์กลางมวล |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Falling Detection for Elderly by Detection the Pattern of Center of Mass โครงการวิจัย การตรวจสอบการล้มในผู้สูงอายุโดยตรวจสอบรูปแบบการเปลี่ยนแปลงของจุดศูนย์กลางมวล |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | ธเนศ เคารพาพงศ์ มิตรชัย จงเชี่ยวชำนาญ วิภาวรรณ ลีลาสำราญ ภาวินทร์ จาวยญ Faculty of Engineering Computer Engineering คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ Faculty of Engineering Electrical Engineering คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า Orthopedic Surgery and Physical Medicine คณะแพทยศาสตร์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์และเวชศาสตร์ฟื้นฟู |
คำสำคัญ: | การหกล้มในผู้สูงอายุ |
วันที่เผยแพร่: | 2554 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
บทคัดย่อ: | This research presents the development of in-shoes multisensory for detected the abnormal gait in elderly people. As the cause that led to fall in the elderly. Numerous sensor types was installed in the shoes, such as the acceleration sensor, gyroscope, pressure sensors, bending sensor, which different features and performances in each type. Due to the complex of human walking, studies or measurements with a single sensor may not be enough. So, in this study took data from multi-sensory to study and analyze human gait, by divided into two phases, 1st when the foot touch the ground and 2nd when the foot do not touch the ground. Pressure sensors and bending sensor was applied to measurement, when the foot touches the ground. Data from pressure sensor are estimated Zero Moment Point (ZMP), ZMP are similarly every gait cycle of normal walking. The signal from bending sensor has small varying when human walk we cannot use to compare between normal and normal gait. During the foot not touching the ground, acceleration sensor was applied to study and classification, normal and abnormal gait. A three-axis accelerometer is installed at each foot to collect all three-axis data in Cartesian coordinate. Polynomial surface fitting technique is applied to the measured trajectory and classify. These data are subsequently transformed to spherical coordinate to form a 3-D gait trajectory. After studying the relationship of the signal from those sensors. In this research, artificial neural networks were used to study and classify normal and abnormal gait form pressure sensors signal, which is accurate about 90%. The 10 volunteers age between 18-25 year, high 150-175 cm. weight 40 - 75 kg that came for experiment. In the experimental of three-axis accelerometer and gyroscope data, around 74 gait cycles are tested and compare with simulation data, which is accurate about 85% of preliminary. |
Abstract(Thai): | งานวิจัยนี้นําเสนอการพัฒนารองเท้าสําหรับผู้สูงอายุเพื่อใช้การตรวจสอบท่าทางการเดินที่ ผิดปกติ อันเป็นสาเหตุที่นําไปสู่การล้มของผู้สูงอายุ ในงานวิจัยประยุกต์ใช้ตัวตรวจวัดหลายชนิด ติดตั้งในรองเท้า คือ ตัวตรวจจัดความเร่ง และตัวตรวจวัดความเร็วเชิงมุม ตัวตรวจวัดแรงกด ตัว ตรวจวัดความโค้งงอ ซึ่งตัวตรวจวัดแต่ละชนิดมีคุณสมบัติและประสิทธิภาพแตกต่างกันไป เนื่องจากการเดินของมนุษย์มีความซับซ้อนการศึกษาหรือการวัดด้วยตัวตรวจรู้ชนิดเดียวนั้นไม่ เพียงพอ ในงานวิจัยนี้จึงนําข้อมูลจากหลายชนิดตัวตรวจรู้มาศึกษาและวิเคราะห์ท่าทางการเดินของ มนุษย์ โดยแบ่งการศึกษาการเดินออกเป็นสองช่วงคือช่วงที่เท้าสัมผัสพื้น และช่วงที่เท้าไม่สัมผัส พื้น โดยใช้ตัวตรวจวัดที่เหมาะสมตามช่วงของการเดิน ซึ่งในช่วงที่เท้าสัมผัสพื้น ตัวตรวจวัดแรงกด และตัวตรวจวัดความโค้งงอ โดยตัวตรวจรู้แรงกดสามารถนํามาประมาณทางเดินของจุด โมเมนต์ ศูนย์ของการเดินได้ซึ่งเมื่อมนุษย์มีการเดินแบบปกติทางเดินของจุดโมเมนต์ศูนย์จะมีรูปแบบ ใกล้เคียงกันในแต่ละก้าว และผลการทดสอบตัวตรวจวัดความโค้งงอไม่สามารถนํามาวิเคราะห์ได้ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณเพียงเล็กน้อยเมื่อผู้ทดสอบทําการเดิน ส่วนในช่วงที่เท้าไม่ สัมผัสพื้นนั้น ตัวตรวจวัดความเร่ง และตัวตรวจวัดความเร็วเชิงมุม ถูกนํามาประยุกต์ใช้งาน โดย อาศัยความสัมพันธ์ของรูปแบบทางเดินของความเร่งทั้งสามแกน เมื่อมนุษย์มีท่าทางการเดินปกติ รูปแบบทางเดินของทั้ง 3 แกน ของความเร่ง และความเร็วเชิงมุม จะมีรูปแบบใกล้เคียงกันในแต่ละ ก้าว หลังจากศึกษาความสัมพันธ์ของสัญญาณจากตัวตรวจรู้ต่างๆ ในเบื้องต้นแล้ว ในงานวิจัยนี้ได้ ประยุกต์การประมวลผลแบบเครือข่ายประสาทเทียมมาใช้ในการศึกษาจําแนกการเดินที่ปกติและ ผิดปกติ จากสัญญาณของตัววัดแรงกดใต้ฝ่าเท้าในช่วงที่เท้าสัมผัสพื้นซึ่งผลการทดลองมีความ ถูกต้องประมาณ 90% โดยมีผู้เข้าร่วมทดสอบ 10 คนอายุระหว่าง 18-25 มีความสูงในช่วง 150-175 ซม. และมีน้ําหนักระหว่าง 40 - 75 กก. และในขณะที่เท้าไม่สัมผัสพื้นนั้นในงานวิจัยประยุกต์การ ประมานเชิงเส้น มาตรวจสอบการเดินที่ปกติและไม่ปกติ โดยอาศัยข้อมูลจากรูปแบบทางเดินของ ทั้ง 3 แกน ของความเร่ง และความเร็วเชิงมุม ซึ่งในการทดลองตรวจสอบวงรอบการก้าวจํานวน 74 ก้าวด้วยวิธีนี้ผลการตรวจสอบความถูกต้องประมาณ 85% |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17384 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | 210 Research 241 Research 369 Research |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
413326-abstract.pdf | 573.05 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น