กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17383
ชื่อเรื่อง: พัฒนาต้นแบบชุดกรองเซรามิกเมมเบรนสำหรับการกรองน้ำสกัดเสริมสุขภาพจากเปลือกมังคุด
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Development of prototype of ceramic membrane filter for filtration of functional fermented Mangosteen peet beverage
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ พัฒนาต้นแบบชุดกรองเซรามิกเมมเบรนสำหรับการกรองน้ำสกัดเสริมสุขภาพจากเปลือกมังคุด
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ดรุณี ผ่องสุวรรณ
ดวงพร คันธโชติ
ไตรภพ ผ่องสุวรรณ
Faculty of Science (Materials Science and Technology)
คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ
Faculty of Science (Microbiology)
คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา
Faculty of Science (Physics)
คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาฟิสิกส์
คำสำคัญ: เครื่องกรองชนิดเยื่อแผ่น;เครื่องเคลือบดินเผา;อาหารเสริม;มังคุด
วันที่เผยแพร่: 2559
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทคัดย่อ: L.plantarum DW12 was used as a starter culture to produce manerage.There were 4 sets of experiments as follows:Set A,a tradition.mangosteen peel, cane sugar and potable water (w.w:v = 3:1:10) without starter culture.Set B is set A with 5% starter culture and 0.5% monosodium glutamate (MSG). Set C is atraditional formula flesh mangosteen, cane sugar and potable water (3 :1 : 10) withoutstarter culture and set D is set C with 5% starter culture and 0.5% monosodium glutamate(MSG). Initial total bacterial counts (TBC) in all sets were between 5.11 and 5.62 logCFU/ml. At the end of fermentation (12 weeks), TBC in set A, B, C and D were 4.17, 4.14,4.18 and 2.84 log CFU/ml, respectively, while initial lactic acid bacteria (LAB) were 2.33,5.2, 4.9 and 5.16 log CFU/mI, respectively, and at the end of fermentation the LAB levelswere 2.60. 4.14, 2.43 and 3.26 log CFU/ml, respectively. The initial number of yeasts in allsets was approximately 5 log CFU/ml and at the end of fermentation set C had thehighest number of 4.13 log CFU/ml.The final concentration of sugar in all sets at week 12was in a range of 0.02-0.51%, pH 3.2-3.8, electrical conductivity of 916-3308 HS/cm withtotal acidity of 0.46-0.95%, Moreover, mangosteen beverage fermentation had antioxidantactivity and the maximum antioxidant activity found at week 12 in all sets. Based on DPPHand total phenolic content, set B produced the highest antioxidant activity followed byset A C and D, respectively. Bacterial indicators were not found in all sets including totalcoliforms, Escherichia coli and pathogens; Salmonella sp., S. aureus and Clostridiumperfringens. Antibacterial activity was found in all sets against the growth of testedbacteria mentionedpreviously.Tubular-type ceramic membranes made from alumina were prepared by slip castingmethod. The tube dimensions are 22 and 34 mm outer diameter, 220 mm in length and 3mm thickness (surface area = 0.01 and 0.02 m'). After sintering at temperature of 1100cthe ceramic membrane possessed an average porosity of 47-49 % with pore diameter of0.3-1 micron.Filtration unit was designed to install 3-4 ceramic tubes (total surface area = 0.05and 0.07 m') with cross-flow pattern and made of PVC pipe with 0.1 m internal surfacearea. Tests showed the pure water permeate at 137.80 kpa is between100 and 168 LhrThe permeate of fermentedmangosteen beverage set B and C was reduced to 1.37 andunit was designed to install 3-4 ceramic tubes (total surfaced 0.07 m²) with cross-flow pattern and made of PVC pipe with 0.1 m²internal surfacearea. Tests showed the pure water permeate at 137.80 kPa is between100 and 168 Lhr-1The permeate of fermentedmangosteen beverage set B and C was reduced to 1:37 and2.55 Lhr-1at 34.45-137.80 kPa, respectively. Results showed that the laboratory-madeceramic filter can reduced numbers of yeast, TBE and LAB tde< 1.47 log CFU/ml,respectively. Ethanols in all sets after filtration were still 2.02, 4.27, 4.45 and 5.61 %,respectively. The total sugar, pH, total acidity, including antioxidants activity before andafter filtrations were slightly different. The filtered broth can inhibited all 4 testedbacteria, no detection of bacterial indicators and foodborne pathogens was found. Resultsnsory test using Hedonic test found that all sets after filtration in theacceptance than before filtration due to their more clearness.
Abstract(Thai): นำกล้าเชื้อ L. plontorum DV12 มาใช้เพื่อผลิตน้ำหมักเปลือกมังคุดและเนื้อมังคุด โดย จัดให้มี4 ชุดการทดลอง คือน้ำหมักเปลือกมังคุด ชุด A แบบดั้งเดิม (เปลือกมังคุด น้ำตาลทราย น้ำสะอาดอัตราส่วน 3:1:10 (w/w/v) ชุด B แบบดั้งเดิม (ชุด A) เดิมกล้าเชื้อ 596 และ 0.596 Monosodiumglutamate (MSG) ชุด C น้ำหมักเนื้อมังคุดแบบดั้งเดิม (เนื้อมังคุด น้ำตาลทราย น้ำสะอาด อัตราส่วน3.1 10 (w/w/v) และน้ำหมักชุด D แบบดั้งเดิม (ชุด C) เติมกล้าเชื้อ 5% และ 0.5% Monosodiumglutamate (MSG) เมื่อเริ่มต้นการหมักทุกชุดการทตลองมี ปริมาณแบคทีเรียทั้งหมด (TBC) อยู่ในช่วง5.11-562 Log CFU/ml เมื่อสิ้นสุดการหมักที่ 12 สัปดาห์ น้ำหมักชุด A, B, C และ D มีปริมาณ TBCคงเหลือ 4 .17, 4.14, 4.18 และ 2.84 Log CFU/ml ตามลำดับ และมีปริมาณแลกติกแอสิดแบคทีเรีย(LAB) เริ่มต้นเท่ากับ 2.33. 5.2 9.9 และ 5.16 I0g CFU/ml และเมื่อสิ้นสุดการหมัก LAB คงเหลือ2.60, 4 .14, 2.43 และ 3.26 Log CFU/ml ตามลำดับ ส่วนปริมาณยีสต์เริ่มต้นทุกชุดการทดลองมีประมาณ 5 Log CFU/ml และเมื่อสิ้นสุดการหมัก ชุด (มียีสต์เหลืออยู่มากที่สุด 4.13 Log CFU/mlโดยทุกชุดการทดลองมี ปริมาณน้ำตาลเหลืออยู่ในช่วงร้อยละ 0.02-0.51 ค่าพีเอชระห ว่าง 32-3.8ค่าการนำไฟฟ้า 916-3308 uS/cm ความเป็นกรด 0.46-0.95 สำหรับความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ DPPH และปริมาณสารประกอบฟีนอลลิกทั้งหมด มีค่าสูงสุดในน้ำหมักชุด B ตามด้วยชุด A, Cและ D ตามลำดับ ตรวจไม่พบแบคที่เรียบ่งชี้ Total coliforms และ Escherichio coli และตรวจไม่พบเชื้อก่อโรคของระบบทางเดินอาหาร Salmonella sp., Staphyloccus aureus และ Clostridiumpeffringens ในทุกชุดการทดลอง สรุปได้ว่าน้ำหมักทุกชุดมีฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียทดสอบทั้ง 4 ชนิดเตรียมเซรามิกเมมเบรนแบบท่อ จากอลูมินาด้วย การหล่อแบบมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 34 และ22 มิลลิเมตร ความยาว 220 มิลลิเมตรหนา 3 มิลลิเมตร (พื้นที่ 0.02 และ 0.01 ตารางเมตร ) เผาที่อุณหภูมิ 1100 °C มีความพรุนตัวร้อยละ 47-49 และมีขนาดของรูพรุน 0.3-1 ไมโครเมตรออกแบบและสร้างเครื่องกรองชนิดไมโครฟิลเตรชันแบบไหลขวาง ชนิด 3-4 ไส้กรอง (พื้นที่เซรามิกเมมเบรนรวม 0.07 และ 0.05 ตารางเมตร) ตัว ถังผลิตจากท่อพีวีซี มีพื้นที่ภายในเครื่องกรอง 0.10ตารางเมตร มีค่าอัตราผลิตน้ำบริสุทธิ์มีค่าอยู่ระหว่าง 100-168 ลิตรต่อชั่วโมง ที่ความดัน 137.80 kPaเมื่อนำมากรองน้ำหมักชุด Bและ C จะให้อัตราการผลิตน้ำหมัก 1.37 และ 2.55 ลิตรต่อชั่วโมงตามลำดับที่ความดัน 34.45 -137.80 kPaในการกรองน้ำหมักด้วยเซรามิกเมมเบรนที่พัฒนาขึ้นเอง สามารถลดปริมาณยีสต์ TBC และ LABในน้ำหมักชุด B เหลือ <1.47 Log CFU/ml ปริมาณเอทานอลของน้ำหมักชุด A, B, C และ D มีค่าเท่ากับร้อยละ 2.02 4.27 , 445 และ 5 61 ตามลำดับ ปริมาณน้ำตาล พีเอช กรด ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระหลังกรองมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับก่อนกรอง รวมทั้งยังคงมีฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียทดสอบทั้ง 4 และตรวจไม่พบแบคทีเรียบ่งชี้เชื้อโรคที่มากับอาหาร ผลการทดสอบประสาทสัมผัสของน้ำหมักพบว่าหลังกรองได้รับคะแนนการยอมรับมากกว่าก่อนกรอง ซึ่งเป็นเพราะมีความใสมากขึ้น
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17383
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:326 Research
332 Research
342 Research

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
413364-abstract.pdf228.54 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น