Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13405
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชนนท์ กองกมล-
dc.contributor.authorแสงอรุณ อิสระมาลัย-
dc.contributor.authorพรนิตย์ วรรธนพิสิฐกุล-
dc.contributor.authorกนกวรรณ หวนศรี-
dc.date.accessioned2021-03-09T09:39:31Z-
dc.date.available2021-03-09T09:39:31Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13405-
dc.description.abstractBackground: Knee pain is a leading cause of functional impairment and decrlity of life among aged para rubber farmers in Thailand, Promoting self-ers and increasing role of health care workers in occupationalcritical issues in primary care.Objective: This study aimed to develop the supportive-educative care model as apractical model for aged para rubber farmers with knce OA.Methods: An action research approach was taken effort with the health care workers,including 10 community health volunteers and 30 aged para rubber farmers with knceosteoarthritis. Three parties on building the healthy public policy (professionals,decision makers, and community citizen), namely "Triangle that moves the mountain"and the Self-care deficit nursing theory were used as the theoretical foundations. Fourphases according to the action research cycle: the initial assessment, the developmentof the model, the application of the newly developed model, and the evaluation ofchange were conducted. Data were collected by focus group, personal interview andbrainstorming and analyzed using content analysis.Results: The supportive-educative care model comprises: (i) educative program forthe trainers (ii) goal-directed and self-care plan on ergonomic management andmuscle strengthening exercise for the aged individuals (ii) practical tool developmentfor home visiting program and (iv) supportive system for the professionalconsultation.Conclusion: The practical supportive-educative care model seems to fulfill the careneeds of aged para rubber farmers with knee OA and enhance their self-care. Inaddition, maximizing care competences of the health volunteers is achieved throughpartnerships of the community parties responding to the primary care.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectข้อเสื่อมen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ สุขภาพและอนามัen_US
dc.subjectเกษตรกร สุขภาพและอนามัยen_US
dc.titleสามประสานเพื่อการพัฒนาอาชีวอนามัยสำหรับผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมที่ประกอบอาชีพกรีดยางพาราen_US
dc.title.alternativeThree Parties Engagement on Occupational Health Development for Aged Para Rubber Farmers with Knee Osteoarthritisen_US
dc.title.alternativeรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สามประสานเพื่อการพัฒนาอาชีวอนามัยสำหรับผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมที่ประกอบอาชีพกรีดยางพาราen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Medicine (Family Medicine and Preventive Medicine)-
dc.contributor.departmentคณะแพทยศาสตร์ ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและเวชศาสตร์ป้องกัน-
dc.contributor.departmentคณะแพทยศาสตร์ ภาควิชากายภาพบำบัด-
dc.contributor.departmentFaculty of Nursing (Division of Community Nurse Practitioner)-
dc.contributor.departmentคณะพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน-
dc.description.abstract-thปวดเข่าเป็นปัญหาสำคัญที่นำไปสู่การลดลงของความสามารถการช่วยเหลือตนเองและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุข้อขาเสื่อมที่ประกอบอาชีพกรีดยารพาราในประเทศไทย การส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเองของแรงงานสูงอายุกลุ่มนี้และเพิ่มบทบาทของบุคลากรด้านสาธารณสุข เพื่อพัฒนางานอาชีวอนามัยซึ่งเป็นประเด็นที่สำคัญในหน่วยบริการปฐมภูมิการวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลตนเองด้านอาชีวอนามัยสำหรับผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมที่ประกอบอาชีพกรีดยางพาราโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคีบริการสุขภาพ ภาคีชุมชน และภาคีทองถิ่น ผู้ร่วมวิจัยคือ อาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 10 คน และผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมที่ประกอบอาชีพกรีดยางพารา 40 คน โดยสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายทั้งภาคีบริการสุขภาพ ภาคีชุมชน และภาคีท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาภายใต้กรอบแนวคิด"สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา" และทฤษฎีความพร่องในการดูแลตนเอง กระบวนการวิจัย ประกอบด้วย 4ขั้นตอนหลัก ได้แก่ การวางแผน การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมอาชีวอนามัย การนำรูปแบบการดูแลตนเองต้านอาชีวอนามัยสู่การลงมือปฏิบัติ และการประเมินผลการเปลี่ยนแปลง เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์ และการระดมสมอง และใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหาในการวิเคราะห์ข้อมูลผลการวิจัยพบว่า ระบบการดูแลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ด้านอาชีวอนามัยที่จำเป็นสำหรับผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมที่ประกอบอาชีพกรีดยางพารา ประกอบด้วย 1) โปรแกรมการพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครอาชีวอนามัย 2) การตั้งเป้าหมายและออกแบบแผนการดูแลตนเองในการจัดการท่าทางการทำงานและการเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ 3) การออกแบบเครื่องมือที่ง่ายต่อการนำไปใช้เพื่อติดตามการปฏิบัติโดยการเยี่ยมบ้าน และ 4) มีะบบการสนับสนุนโดยการเป็นที่ปรึกษาด้านวิชาการสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขระบบการดูแลแบบสนับสนุนและให้ความรู้นี้สามารถนำไปใช้ได้จริงและตอบสนองความจำเป็นในการดูแลตนเองสำหรับผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมที่ประกอบอาชีพกรีดยางพารา รวมทั้งสามารถส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเองแก่ผู้สูงอายุกลุ่มนี้ ซึ่งให้ข้อเสนอแนะว่าการเสริมศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขผ่านการมีส่วนร่วมในการทำงานกับภาคีที่เกี่ยวข้องเป็นหนึ่งในปัจจัยแห่งความสำเร็จen_US
Appears in Collections:367 Research
610 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
441014.pdf20.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.