กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13383
ชื่อเรื่อง: การสังเคราะห์โมลิบดีนัมไตรออกไซด์โครงสร้างนาโนแบบชั้นเพื่อใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาทางแสงและเก็บกักพลังงานไฟฟ้าเคมีโดยวิธีไฮโดรเทอร์มอล
ชื่อเรื่องอื่นๆ: รายงานวิจัยเรื่อง การสังเคราะห์โมลิบดีนัมไตรออกไซด์โครงสร้างนาโนแบบชั้นเพื่อใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาทางแสงและเก็บกักพลังงานไฟฟ้าเคมีโดยวิธีไฮโดรเทอร์มอล
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: อนุกร ภู่เรืองรัตน์
สมชาย ทองเต็ม
Faculty of Science (Materials Science and Technology)
คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ
คำสำคัญ: การเร่งปฏิกิริยาด้วยแสง;พลังงานไฟฟ้า;โมลิบดีนัม
วันที่เผยแพร่: 2559
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทคัดย่อ: In this research reported synthesis of molybdenum trioxides (MoO3) used for photocatalyst and electrochemical energy storage by hydrothermal method. MoO3 nanobelts as cathode materials for Li-ion batteries show an initial specific capacity of exhibit specific capacity at 1340 and 1250 mAhg-1for a current density of 100 and 400 mA/g. The effect of Eu, Gd and W doping on photocatalytic properties were studied. The phase, morphologies and optical properties of as-synthesized MoO3 were analyzed by XRD, Raman spectroscopy, SEM, TEM, SAED, HRTEM and UV–Vis spectroscopy, respectively. The photocatalytic activities of as-synthesized samples were investigated by degradation of methylene blue under visible light radiation. It found that the metal doped MoO3 has a higher photocatalytic efficiencies than MoO3
Abstract(Thai): งานวิจัยนี้ศึกษาเตรียมโมดิบดีนัมไตรออกไซด์ (MoO3) สำหรับใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาทางแสงและเก็บกักพลังงานไฟฟ้าเคมีโดยวิธีไฮโดรเทอร์มอล เข็มขัดนาโน MoO3 ใช้เป็นวัสดุขั้วแคดโทดสำหรับแบตเตอรี่ชนิดลิเทียมไออินแสดงความจุไฟฟ้าเริ่มต้นที่ 1340 และ 1250 mAhg-1สำหรับความหนาแน่นของกระแสที่ 100 และ 400 mA/g นอกจากนี้ได้ทำการศึกษาเพื่อผลกระทบของตัวเจือกโดยการเจือโลหะ 3 ชนิด คือ Eu Gd และ W ต่อสมบัติตัวเร่งปฏิกิริยาทางแสง โดยเฟสสัณฐานวิทยาและสมบัติทางแสงของ MoO3 ที่สังเคราะห์ ได้ถูกนำไปวิเคราะห์ด้วยเครื่อง XRD, Raman spectroscopy, SEM, TEM, SAED, HRTEM และ UV–Vis spectroscopy ตามลำดับ นอกจากนี้ยังศึกษาสมบัติตัวเร่งปฏิกิริยาทางแสงของสารที่เตรียมได้โดยการย่อยสลายสารละลาย methylene blue ภายใต้แสงที่มองเห็นได้พบว่า ตัวเร่งปฏิกิริยาทาง MoO3 ที่เจือด้วย โลหะมีประสิทธิภาพตัวเร่งปฏิกิริยาทางแสงที่สูงกว่า MoO3
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13383
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:342 Research

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
413217-abstract.pdf115.19 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น