Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8069
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบัญชา สมบูรณ์สุข-
dc.contributor.authorสมยศ ทุ่งหว้า-
dc.contributor.authorBenedicte, Chambon-
dc.contributor.authorกนกพร ภาชีรัตน์-
dc.contributor.authorไชยยะ คงมณี-
dc.date.accessioned2012-03-15T04:18:36Z-
dc.date.available2012-03-15T04:18:36Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8069-
dc.identifier.urihttps://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/247601-
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectการกรีดต้นไม้en_US
dc.subjectยางen_US
dc.subjectการกรีดยางen_US
dc.subjectชาวสวนยางen_US
dc.titleผลของการปรับปรุงระบบกรีดต่อเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรชาวสวนยางขนาดเล็กen_US
dc.title.alternativeรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ผลของการปรับปรุงระบบกรีดต่อเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรชาวสวนยางขนาดเล็กen_US
dc.title.alternativeEffect of the tapping system impressments in rubber on socioeconomic of farmersen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Natural Resources (Agricultural Development)-
dc.contributor.departmentคณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพัฒนาการเกษตร-
dc.contributor.departmentFaculty of Economics (Economics)-
dc.contributor.departmentคณะเศรษฐศาสตร์-
dc.description.abstract-thการเพิ่มผลผลิตและรายได้ของเกษตรชาวสวนยางพารา จำเป็นจะต้องค้นหานวัตกรรมและเทศนิคใหม่ ๆ มาใช้ในการเพิ่มผลผลิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งนวัตกรรมเกี่ยวกับการใช้ระบบกรีดยางพารา ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อการศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม ระหว่างการใช้ระบบกรีดแบบรอยเดียวกับระบบกรีดแบบสองรอยกรีด : DCA และเพื่อเสนอแนะแนวทางการปรับตัวของเกษตรกร ชาวสวนยางพาราที่เลือกใช้ระบบกรีดคแบบรอยเดียวและระบบกรีดแบบสองรอยกรีด เพื่อเพิ่มผลผลิตและรายได้ โดยการศึกษาข้อมูลเชิงปริมาณจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครัวเรือนเกษตรกรชาวสวนยางพารา จำนวน 118 ครัวเรือน ในพื้นที่ 5 อำเภอ จังหวัดสงขลา และข้อมูลเชิงคุณภาพจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครัวเรือนเกษตรกรที่เข้าร่วมทดลองใช้ระบบกรีดแบบสองรอยกรีด : DCA จำนวน 3 ราย และครัวเรือนเกษตรกรชาวสวนยางพารา จำนวน 15 ราย สำหรับการวิเคราะห์แบบจำลองโดยใช้โปรแกรม Olympe ผลการศึกษา พบว่าในปัจจุบันเกษตรกรเลือกใช้ระบบกรีดแบบรอยเดียวที่สำคัญ 5 ระบบกรีด ได้แก่ระบบกรีด 1/3s3d/4, 1/3s2d/3, 1/2s2d/3, 1/2s3d/4 และ 1/2sd/2 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระบบกรีด 1/3ห3ก/4 เป็นระบบกรีดที่เกษตรกรนิยมใช้มากที่สุด ให้ผลตอบแทนมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบระบบกรีดอื่น ๆ และเมื่อเปรียบเทียบผลของการใช้ระบบกรีดแบบรอยเดียวที่สำคัญทั้ง 5 ระบบดังกล่าวกับระบบกรีดแบบสองรอยกรีด : DCA พบว่า ระบบกรีดแบบสองรอยกรีด : DCA ให้ปริมาณผลการผลิตต่อปีสูงที่สุด รองลงมาระบบกรีด 1/3s3d/4 เมื่อเปรียบเทียบผลตอบแทนพบว่า ระบบกรีดแบบสองรอยกรีด : DCA ให้รายได้สุทธิสูงที่สุดเมื่อเทียบกับระบบกรีดแบบรอยเดียว นอกจากนี้ยังพบว่า ระบบกรีดแบบสองรอยกรีด : DCA มีปริมาณผลผลิตเนื้อยางแห้งเพิ่มขึ้น 20% สำหรับข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มผลผลิตและรายได้ สำหรับเกษตรกรที่เลือกใช้ระบบกรีดแบบสองรอยกรีด : DCA ได้แก่ ควรมีการเพิ่มพูนความรู้และทักษะของแรงงานกรีดควรใช้ปุ๋ยอย่างสม่ำเสมอทั้งปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมี และเกษตรกรควรใช้ระบบกรีดที่มีความถี่ต่ำเพื่อรักษาหน้ากรีด-
Appears in Collections:520 Research
878 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
350130.pdf53.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons