Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13208
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีรศักดิ์ จินดาบถ | - |
dc.contributor.author | มาริสา กุฎอินทร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-10-27T07:35:40Z | - |
dc.date.available | 2020-10-27T07:35:40Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13208 | - |
dc.description | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ความเสี่ยงในการซื้อสินค้าออนไลน์ โดย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริโภคกลุ่มเจเนอเรชั่น วาย (อายุ 22-37 ปี ) ในอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 395 ราย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแจกแจง แบบ t-test และ f-test วิเคราะห์ความแปรปรวน (Anova) และวิเคราะห์ความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วย Scheffe Analysis กำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษา การรับรู้ความเสี่ยงในการซื้อสินค้าออนไลน์ของกลุ่มผู้บริโภคเจเนอเรชั่น วาย ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่า โดยภาพรวมของกลุ่มผู้บริโภคมีการรับรู้ความเสี่ยง ในการซื้อสินค้าออนไลนอ์ ยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีการรับรู้ความ เสี่ยงในการซื้อสินค้าออนไลน์เรียงลำดับตามการรับรู้ความเสี่ยงจากมากไปน้อยได้แก่ ด้านหน้าที่ ของสินค้า ด้านกายภาพ ด้านการเงิน ด้านจิตวิทยา ด้านเวลา และด้านสังคม สำหรับปัจจัยด้าน ประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อการรับรู้ความเสี่ยงในการซื้อสินค้าออนไลน์ ผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษา แตกต่างกัน มีการรับรู้ความเสี่ยงในการซื้อสินค้าออนไลน์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 ส่วนผู้บริโภคที่มีเพศ อายุ สถานภาพ อาชีพ รายได้ต่อเดือน ความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ต และประสบการณ์การซื้อสินค้าออนไลน์แตกต่างกัน มีการรับรู้ความเสี่ยงในการซื้อสินค้าออนไลน์ ไม่แตกต่างกัน งานวิจัยนี้เสนอแนะให้ผู้ประกอบการได้รับทราบข้อมูลและแนวทางการจัดการกับความ เสี่ยงในการซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภค เพื่อสร้างการยอมรับและความเชื่อมั่น แก่ผู้บริโภค รวมถึงสามารถวางกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจที่เหมาะสม คือในด้านหน้าที่ของสินค้าและด้าน กายภาพเป็นอันดับแรก เพื่อลดความเสี่ยงของผู้บริโภคที่กังวลเกี่ยวกับคุณภาพสินค้าที่ซื้อผ่าน ช่องทางออนไลน์ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การรับรู้ความเสี่ยง | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค | en_US |
dc.subject | เจเนอเรชั่นวาย | en_US |
dc.subject | การซื้อสินค้าออนไลน์ | en_US |
dc.title | การรับรู้ความเสี่ยงในการซื้อสินค้าออนไลน์ของกลุ่มผู้บริโภคเจเนอเรชั่นวาย ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี | en_US |
dc.title.alternative | Perceived Risk on Buying Online Shopping of Generation Y in Muang Suratthani. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Business Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ | - |
Appears in Collections: | 460 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5510521146.pdf | 1.47 MB | Adobe PDF | View/Open | |
5510521146-manuscript.pdf | 427.75 kB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License