Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2553/4667
Title: การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของป่าชุมชนในภาคใต้ : กรณีศึกษาป่าชุมชนเขาหัวช้าง ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
Other Titles: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของป่าชุมชนในภาคใต้ : กรณีศึกษาป่าชุมชนเขาหัวช้าง ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
Authors: เสาวลักษณ์ รุ่งตะวันเรืองศรี
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม
Keywords: ป่าชุมชน ตะโหมด (พัทลุง);มูลค่า (เศรษฐศาสตร์)
Issue Date: 2549
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: This research was a survey research using a community-based participatory technique to enhance both the accuracy of data collection and the potential of those volunteered community researchers who participate. The economic evaluation of the forest included 8 different benefits, both direct and indirect, of the forest. They are timber valuation, non-timber forest product valuation, tourist benefit valuation, research and education vaiuation, CO2 sequestration valuation, water supply evaluation, option value and existence valuation. The evaluation technique and the results of the study are summarized below. To evaluate the timber value, the survey of density and volume of timber was carried out, using a circular plot system method under close supervision from forestry personnel. The volume of the timbers was then mutiplied by market price of timber, excluding harvesting costs. For value of poles and saplings and seedlings, evaluation was done using Replacement Cost Approach. The values derived are 1,239,472,778.69 Baht for total value comprising 1,132,730,423.39 of timber value, 52,636,851.54 of poles, and 54,105,503.76 Baht of saplings and seedlings.
Abstract(Thai): การวิจัยนี้ดำเนินการโดยใช้การวิจัยเชิงสำรวจและการวิจัยแบบมีส่วนร่วม โดยการประเมิน มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ กำหนดการประเมินมูลค่าด้านต่าง ๆ รวมทั้งสิ้น 8 ด้าน ประกอบด้วย มูลค่า ทัศนศึกษา ด้านเนื้อไม้ มูลค่าด้านผลผลิตในรูปของของป่า มูลค่าการใช้ประโยชน์เพื่อการท่องเที่ยว การอบรมดูงานและจัดกิจกรรม มูลค่าการใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาวิจัย มูลค่าการเป็นแหล่งต้นน้ำ สำหรับการอุปโภคบริโภคและการเกษตร มูลค่าการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ มูลค่าเผื่อจะใช้ประโยชน์ในอนาคตและมูลค่าการคงอยู่ โดยมีวิธีการประเมินและผลของการประเมินมูลค่า ดังนี้ การประเมินมูลค่าปริมาณไม้ (ประกอบด้วย ไม้ใหญ่ ไม้หนุ่ม ลูกไม้ และกล้าไม้) ทำการประเมินโดยการสำรวจปริมาณไม้ทั้งหมดตามวิธีการวนศาสตร์ โดยร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้ และนำมาหามูลค่าสุทธิโดยวิธีการราคาตลาดและวิธี Replacement Cost Appruach ผลการศึกษาพบว่ามูลค่าด้านเนื้อไม้มีมูลค่าเท่ากับ 1,239,472,778.69 บาท ซึ่งประกอบด้วย มูลค่าสุทธิของเนื้อไม้ ทั้งหมดในป่าชุมชนเขาหัวช้างเท่ากับ 1,132,730,423.39 บาท มูลค่าของไม้หนุ่มในป่าชุมชนเขาหัวช้าง เท่ากับ 52,636,851.54 บาท และมูลค่าลูกไม้และกล้าไม้ทั้งหมดของป่าชุมชนเขาหัวช้าง เท่ากับ 54,105,503.76 บาท
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2553/4667
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/167220
Appears in Collections:001 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
license.html118 BHTMLView/Open
276486.pdf299.19 kBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.