กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19650
ชื่อเรื่อง: | การพัฒนาชุดสือการเรียนรู้โค้ดดิ้งหุ่นยนโปรแกรมอัจฉริยะ : BUGBOT เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงระบบของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา 23 จังหวัดสกลนคร |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Development of coding learning kit smart programing robot : BUGBOT to enhance systems thinking skill of middle school students in schools under the secondary educational service area office 23,Sakon Nakhon province |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | วราพร อัศวโสภณชัย |
คำสำคัญ: | เทคโนโลยี -- การศึกษาและการสอน;หุ่นยนต์ -- การเขียนโปรแกรม;เทคโนโลยี -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- วิจัย |
วันที่เผยแพร่: | 2567 |
สำนักพิมพ์: | กระทรวงศึกษาธิการ . กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา |
บทคัดย่อ: | (1) to design and develop coding learning kit "Smart The research aims (1) to Programming Robot: BUGBOT" (2) to try out the coding learning kit in middle schools coding Learnin under the Secondary Educational Service Area 23, Sakon Nakhon Province and (3) to evaluate the quality of coding learning kit from implementing in classroom. The target group is 9 teachers/student teachers teaching computing science subject, working in schools under the Secondary Educational Service Area 23. The first target group was ing The re selected by purposive sampling. The research tools included a questionnaire for assessing the model of coding learning kit, a questionnaire for teacher training and a interview questions. The data were analyzed by content analysis and descriptive statistics such as percentage, mean and S.D. The second sampling group was 416 middle school and high school students, selected by purposive sampling. The research e school and perce tool was a was a performance assessment form, and the data were analyzed by inferential statistics, one sample t-test. The findings showed that 1) the assessment of the coding learning kit "BUGBOT" revealed that the material is durable, easy and suitable to use, and the design outside and inside were suitable and creative; 2) For teacher training, it showed the training covered the required contents at the highest level (72.7%), responded to teachers' needs at the highest level (63.6%), increased knowledge at the highest level (90.9%) and helped apply knowledge into practice at a high level (63.6%); and 3) When compared the students' systematic thinking skills before and after learning with BUGBOT, it indicated that the students improved the thinking skills than before learning at a statistical significance .05. The thinking skills above included 3 aspects, first, the ability to communicate, second, the ability to think systematically and third, the ability to solve problem. |
Abstract(Thai): | งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ (1) ออกแบบและพัฒนานวัตกรรมชุดสื่อการเรียนรู้โค้ดดิ้ง “หุ่นยนต์เขียนโปรแกรมอัจฉริยะ : BUGBOT” (2) ทดลองนวัตกรรมสื่อก ทดลองนวัตกรรมสื่อการเรียนรู้ในชั้นเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสังก โรงเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา การศึกษามัธยมศึกษา 23 จังหวัดสกลนคร และ (3) ารศึกษามัธยมศึกษ ประเมินผลการใช้นวัตกรรมสื่อการเรียนรู้โค้ดดิ้ง “หุ่นยนต์เขียนโปรแกรมอัจฉริยะ : ชั้นเรียนจริง กลุ่มเป้าหมายคือ 1) ครูผู้สอนรายวิชา วิทยาการคำนวณ จำนวน 9 คน : BUGBOT" ใน ใช้การสุ่มแบบ เจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบประเมินสื่อต้นแบบเ ในแบบประเมินสื่อต้นแบบ แบบประเมินผลการอบรมครู วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา สถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และกลุ่มตัวอย่าง คือ 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย จำนวน 416 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้เรียนแบบประเมินสมรรถนะผู้เรียน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ อนุมาน One sample ผลการศึกษา พบว่า 1) การประเมินชุดสื่อ 1) ด้านวัสดุ ได้แก่ ด้านความคงทน การใช้งานง่าย และความเหมาะสม ในการใช้งาน อยู่ในระดับดีมาก ทั้งนี้ จากราคาต้นทุนในการผลิตต่อตัว 1,200-1,500 บาท พบว่ามี ราคาค่อนข้างแพง 2) ด้านการจัดวางองค์ประกอบภายในและภายนอก และ 3) ด้านความคิด สร้างสรรค์และการใช้งานจริง การประเมินอยู่ในระดับ ดีมาก2) จากการอบรมครูใช้สื่อในขั้นเรียน หลังอบรม พบว่า พบว่า การอบรมตอบโจทย์ตามวัตถุ ประสงต์ ระดับมากที่สุด ร้อยละ 72.7 การอบรมตอบโจทย์ความต้องการของผู้เข้าอบรม ระดับมาก ที่สุด ร้อยละ 63.6 การอบรมช่วยพัฒนาองค์ความรู้ ระดับมากที่สุด ร้อยละ 90.9 องค์ความรู้สามารถ นำไปต่อยอดได้ ระดับมากที่สุด ร้อยละ 63.6 3) หลังเรียนรู้ด้วยสื่อ BUGBOT พบว่า ทักษะการคิดเชิงระบบของนักเรียน 3 ด้าน ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิดเชิงระบบ และความสามารถในการแก้ปัญหา มี ค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19650 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | RP01 Research |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
461354.pdf | 23.29 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น