Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19629
Title: การพัฒนาเทอร์โมพลาสติกวัลคาไนซ์ทนไฟที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจากผสมระหว่างยางธรรมชาติอิพอกไซด์และพอลิพรอพิลีน
Other Titles: Development of Environmentally Friendly Flame Retardant Thermoplastic Vulcanizates from Blend of Epoxidized Natural rubber/Polypropylene
Authors: ณฐินี โล่ห์พัฒนานนท์
อาซีซัน แกสมาน
Faculty of Sciecnce and Technology (Rubber Technology and Polymer Science)
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์
Keywords: เทอร์โมพลาสติก;สิ่งแวดล้อม;Polypropylene
Issue Date: 2560
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: 2lly friendly flame retardant thermoplastic vulcanizates (TPV) from epoxidizednatural rubber phenolic and polypropylene (PP) blends was prepared. Magnesium hydroxide (MH) andwere used 30 and mole% were me retardant and curing agent, respectively. Firstly, ENR containing 10, nthesized. Effect of epoxide content in ENRs on ENR/PP blend morphology, solvent and fire resistance of ENR/PP/MH TPV were studied. The results ENR/PP/MH TPVs using ENRS with different epoxide contents showed co-continuous mo hology. The use of ENR containing 30 mole% provided suitable mechanical properties, and fire resistance of ENR/PP/MH TPV. Furthermore, effect of polypropylene grade with erent melt flow indices, MH content and MH surface treatment on mechanical properties, thermal solvent and fire resistance of ENR/PP/MH TPV was studied. From this studied, It could be conclude that the fire retardant TPV was obtained from blending ENR and PP (HP544T) with melt flow index (MFI, 230°C/2.16 kg) of 60 g/min containing of 60 php MH had best balance of mechanical properties, solvent and fire resistance. The TPV materials was easy to flow and suitable for fabrication of wire and cable insulator by extrusion process.
Abstract(Thai): เตรียมเทอร์โมพลาสติกวัลคาไนซ์ทนฟที่เป็นมิตกับสิ่งแวดล้อมจากการเบลนต์ระหว่างยางธรรมชาติอิพอกไซด์ กับพอลิพรอพิลีน ที่ใช้สารทนไฟชนิตแมกนีเชียมไฮตรอกไซต์ (MH) และช้ระบบวัลคาไนซ์แบบฟินอลิก โดยเริ่มจากการ เตรียมยางธรรมชาติอิพอกไซด์ที่มีระดับหมู่อิพอกไซด์ 10, 30 และ 50 โมลเปอร์เซ็นต์ ก่อนทำการศึกษาอิทธิพลของ ระดับหมู่อิพอกไซด์ ต่อลักษณะสัณฐานวิทยาของเบลนด์ สมบัติเชิงกล สมบัติการทนต่อตัวทำละลาย และการทนไฟของ เทอร์โมพลาสติกวัลคาไนซ์ทนไฟ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าวัสดุเทอร์โมพลาสติกวัลคาไนซ์ทนไฟที่เตรียมโดยใช้ยาง ธรรมชาติอิพอกไซต์ที่มีระดับหมู่อิพอกไซต์ต่งๆ มีลักษณะสัณฐานวิทยาคล้ายเฟสต่อเนื่อง และการใช้ยางธรรมชาติอิ พอกไซด์ที่มีระดับหมู่อิพอกไซด์ 30 โมลเปอร์เซ็นต์ให้วัสดุเทอร์โมพลาสติกวัลคาไนซ์ทนไฟที่มีสมบัติเชิงกล สมบัติการทน ต่อตัวทำละลายและสมบัติการทนไฟที่ดี จากนั้นทำการศึกษาอิทธิพลของพอลิพรอพิลีน เกรดต่างๆ ซึ่งมีค่าดัชนีการไหล (Melt Flow Index, MF) แตกต่างกัน ปริมาณการเติมสารทนไฟแมกนีเซียมไฮตรอกไซด์ และการปรับสภาพผิวของสาร ทนฟแมกนีเชียมฮตรอกไซต์ต่อสมบัติเชิงกล สมบัติเชิงความร้อน สมบัติการทนต่อตัวทำละลาย สมบัติการทนไฟของ วัสดุเทอร์โมพลาสติกวัลคาไนซ์ทนไฟ และความเป็นไปได้ในการขึ้นรูปด้วยกระบวนการเอกซ์ทรูด ผลการทดลองสรุปได้ ว่าการใช้พอลิพรอพิลีน เกรด HP544T ที่มีตัชนีการไหล (MFI, 230C/2.16 kg) เท่ากับ 60 g/min ใช้สารทนไฟ MH ที่ ปริมาณ 60 php ห้วัสดุเทอร์โมพถาสติกวัคาไนซ์ที่มีความสมดุย์ของสมบัติชิงกถ สมบัติการทนต่อตัวทำถะถายแถะ สมบัติการทนไฟ และมีความเป็นไปได้มากที่สุตในการขึ้นรูปเป็นปลอกหุ้มสายไฟและสายเคเบิ้ลด้วยกระบวนการเอกซ์ ทรูต
URI: https://tnrr.nriis.go.th/#/research/1022321
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19629
Appears in Collections:741 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.