Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19546
Title: | Genetic and Morphological Diversity in the Green Algal Genus Caulerpa J.V.Lamouroux (Bryopsidales, Chlorophyta) in Thailand |
Other Titles: | ความหลากหลายทางพันธุกรรมและสัณฐานวิทยาของสาหร่ายสีเขียวสกุลCaulerpa J.V.Lamouroux (Bryopsidales, Chlorophyta) ในประเทศไทย |
Authors: | Jaruwan Mayakun Kattika Pattarach Faculty of Science (Biology) คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาชีววิทยา |
Keywords: | Green algae Thailand |
Issue Date: | 2019 |
Publisher: | Prince of Songkla University |
Abstract: | Caulerpa is a coenocytic green algal genus that is widely distributed in the intertidal and subtidal zones of tropical and subtropical seas. Some species show a complex external morphology. A high morphological plasticity and overlapping morphologies hamper the taxonomy of the genus tremendously. All previous taxonomic studies of Caulerpa in Thailand were based on morphological observations. Since then the taxonomic status of several Caulerpa species has been challenged by molecular studies. The present study aims to reassess the Caulerpa diversity in Thailand using morphological and molecular data (tufA gene and ITS rDNA sequences) from herbarium and fresh specimens. The result confirmed the occurrence of eight Caulerpa species in Thai waters, i.e., C. chemnitzia, C. lentillifera, C. macrodisca, C. racemosa, C. serrulata, C. sertularioides, C. taxifolia and C. verticillata. Specimens previously identified as C. corynephora in Thailand actually are a morphological variety of C. macrodisca. Then, there were three morphological groups of C. macrodisca, C. macrodisca ecad ashmeadii, C. macrodisca ecad corynephora and C. macrodisca ecad macrodisca. In addition, C. racemosa is represented by two distinct morphologies; C. racemosa ecad chemnitzia and C. racemosa ecad racemosa. It is concluded that Caulerpa species identification cannot rely on morphology alone. The tufA gene was useful for specific identification of Caulerpa, and ITS rDNA sequence was supported data. So, this study suggested that morphological and molecular data were good for Caulerpa diversity. In addition, several morphological Caulerpa species previously recorded for Thailand were not found during our field survey and their identity could not be confirmed with DNA sequence data obtained from herbarium specimens. |
Abstract(Thai): | สาหร่ายสีเขียวสกุล Canada มีการกระจายในบริเวณเขตน้ําขึ้นน้ําลงและน้ําท่วมถึงของ ทะเลเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน สาหร่ายบางชนิดมีความแปรผันทางลักษณะสัณฐานวิทยา ซึ่ง ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงรูปร่างทางสัณฐานวิทยา และความซ้อนทับกันของลักษณะทาง ซึ่งการศึกษา สัณฐานวิทยาเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาทางด้านอนุกรมวิธานของสาหร่ายสกุลนี้ อนุกรมวิธานของสาหร่ายสกุลนี้ในประเทศไทยใช้เพียงข้อมูลทางสัณฐานวิทยาเท่านั้น ดังนั้นข้อมูล ทางด้านชีวโมเลกุลจึงมีความจําเป็นในการจัดจําแนกสาหร่ายสกุลนี้ ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษา ความหลากหลายของสาหร่ายสกุล Caulerpa ในประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลทางด้านสัณฐานวิทยา และชีวโมเลกุล (ยืน A และ ITS DNA sequences) จากตัวอย่างแห้งจากพิพิธภัณฑ์และ ตัวอย่างสด จากการศึกษาพบ สาหร่าย Caulerpa ทั้งสิ้น 8 ชนิด ในน่านน้ําไทย คือ C. chemaitria C. lentillifera C. macrodisca C. racemosa C. serrulata C. sertularioides C. taxifolia และ C. verticillata และพบสาหร่ายชนิด C. Corynephora ที่เคยรายงานนั้น เป็นเพียงความแปร ผันทางลักษณะสัณฐานวิทยาของสาหร่ายชนิด C. macrodisca ดังนั้น C. macrodisca จึงมีสาม ลักษณะทางสัณฐานวิทยา คือ C. macrodisca ecad ashmeadii C. macrodisca ecad corynephora และ C. macrodisca ecad macrodisca และสาหร่าย C. racemosa จะมีสอง ลักษณะทางสัณฐานวิทยา คือ C. racemosa ecad chemnitzia และ C. racemosa ecad racemosa ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่าลักษณะทางสัณฐานวิทยาเพียงอย่างเดียวไม่ เพียงพอต่อการจัดจําแนกชนิดของสาหร่ายสกุล Caulerpa ได้ โดยยืน tufa สามารถใช้ในการระบุ ชนิดของสาหร่ายสกุลนี้ได้ดี และ ITS DNA sequence สามารถใช้ประกอบการยืนยันการจัด จําแนกได้ ดังนั้น ควรใช้ทั้งข้อมูลทางสัณฐานวิทยาร่วมกับข้อมูลทางพันธุกรรมในการศึกษาความหลากหลายของสาร่ายสกุล Caulapa นอกจากนี้ในงานวิจัยครั้งนี้ไม่พบสาหร่ายสกุล Caulerpa บางชนิดที่เคยรายงานไว้ ในการสํารวจภาคสนาม และไม่สามารถจัดจําแนกชนิดได้เนื่องจากไม่สามารถสกัดสารพันธุกรรมจากตัวอย่างแห้งได้ |
Description: | Master of Science (Biology (International Program)),2019 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19546 |
Appears in Collections: | 330 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
435917.pdf | 5.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License