Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19522
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจรัล ลีรติวงศ์-
dc.contributor.authorอุษณีษ์ กำเนิดไพรวัน-
dc.date.accessioned2024-06-25T08:56:51Z-
dc.date.available2024-06-25T08:56:51Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19522-
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พฤกษศาสตร์), 2562en_US
dc.description.abstractThe taxonomic study of species diversity of Papilionoideae in Songkhla province was conducted between January 2016 and December 2017 from herbarium specimens and field collections. Totally, 45 genera with 119 species, 3 subspecies and 3 varieties were found. Of these, the most diverse species richness is a genus Crotalaria with 11 species. Moreover, one species, Derris glabra, is endemic to Thailand, one species, Desmodium rubrum, is newly recorded for Thailand, nine species are first reported in Songkhla province and five species, Derris amoen, Desmodium auricomum, Mucuna oligoplax, M. stenoplax and Ormosia grandistipulata, are threatened.en_US
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectความหลากหลายของพืช สงขลาen_US
dc.titleความหลากหลายของพืชวงศ์ย่อยประดู่ (วงศ์ถั่ว) ในจังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeLeadership of Local Administrative Organization Leaders and Peace Process : A Case Study of Narathiwat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Science (Biology)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาชีววิทยา-
dc.description.abstract-thศึกษาความหลากชนิดของพืชวงศ์ย่อยประดู่ในจังหวัดสงขลา โดยศึกษาตัวอย่างพันธุ์ไม้ แห้งในพิพิธภัณฑ์พืช และเก็บตัวอย่างในภาคสนาม ระหว่างเดือนมกราคม พ.ศ. 2559 ถึงเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2560 จากการศึกษาพบพรรณไม้จํานวน 45 สกุล 119 ชนิด 3 ชนิดย่อย และ 3 พันธุ์ โดยสกุลที่มีความหลากชนิดมากที่สุด คือ สกุล Crotalaria จํานวน 11 ชนิด พบพืชที่เป็นพืชถิ่น เดียวของประเทศไทย จํานวน 1 ชนิด คือ หางไหลใบเกลี้ยง (Derris glabra) พืชที่รายงานพบครั้งแรกในประเทศไทย พบจํานวน 1 ชนิด ได้แก่ Desmodium rubram พืชที่ยังไม่เคยมีรายงานในพื้นที่ จังหวัดสงขลา พบจํานวน 9 ชนิด และพืชที่จัดเป็นชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามจํานวน 5 ชนิด คือ ย่านสาวดํา (Derris amoena), ผักแว่น โคก (Desmodium auricomtum), หมามุ่ยใต้ (Mucuna oligoplast), หมามุ่ยลาย (M. stenoplax) และ Orosia grandistipulataen_US
Appears in Collections:330 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
435298.pdf5.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons