Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19519
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรัชญาพร เอกบุตร-
dc.contributor.authorศิริรัตน์ นอสูงเนิน-
dc.date.accessioned2024-06-25T08:34:43Z-
dc.date.available2024-06-25T08:34:43Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19519-
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สัตวศาสตร์), 2019en_US
dc.description.abstractThe objective of this study was to investigate the genetic variation of crossbred meat goat Sup-PSU 1 (50% Thai native and 50% Anglo-Nubian goats) that developed by Ruminant Research and Development Center, Faculty of Natural Resources, Prince of Songkla University using microsatellites and mitochondrial DNA (D-loop). Forty eight Sup-PSU 1 goats together with thirty Thai native goats and thirty Anglo-Nubian goats were used in this study. Results from the 11 microsatellites showed observed and expected heterozygosity value of Sup-PSU 1, Thai native and Anglo-Nubian goats were 0.296 (0.679), 0.338 (0.682) and 0.329 (0.621), respectively. All groups of goat populations showed high polymorphism. The comparision of subpopulations with the total populations (F,T), a low value of FST (0.138) was indicated. This was probably related to the small subpopulation from three groups of goat. Also, this study revealed the polymorphism of three groups of goats. PCR-RFLP of mitochondrial DNA showed 2 patterns of genotype, GG and GC. The CC genotype was not indicated in all groups of goat, while GC was not found in Thai native goat. This may be due a specific allele C in Anglo-Nubian goats. Moreover, Sup-PSU 1 and Anglo- Nubian goats were in equilibrium of Hardy and Weinberg. Nevertheless, native goat could not be tested by Hardy and Weinberg equilibrium. Due to the only one allele and genotype pattern were found in the native group. When using the genetic distance from the microsatellite and mitochondria DNA to construct a phylogenetic tree using Neighbor Joining from program NTSYS V. 2.1. Two groups of goats could be divided. First group consisted of Sup-PSU 1 and Anglo-Nubian goats, while the second group was a native goat. From the results could be concluded that Sup-PSU 1 had high polymorphism. In addition, Sup-PSU 1 goat had a closer relationship with Anglo-Nubian goat than Southern Thai native goat.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectแพะเนื้อ พันธุศาสตร์en_US
dc.titleความแปรปรวนทางพันธุกรรมของแพะเนื้อลูกผสม "ทรัพย์-ม.อ. 1" โดยใช้ไมโครแซทเทลไลท์ และไมโทคอนเดรีย ดีเอ็นเอen_US
dc.title.alternativeGenetic Variation of Crossbred Meat Goat "Sup-PSU 1" by Microsatellites and Mitochondrial DNAen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Natural Resources (Animal science)-
dc.contributor.departmentคณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาสัตวศาสตร์-
dc.description.abstract-thการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความแปรปรวนทางพันธุกรรมของ แพะเนื้อลูกผสมทรัพย์-ม.อ. 1 (แพะพื้นเมืองภาคใต้ 50 เปอร์เซ็นต์ และแพะพันธุ์แองโกลนูเบียน 50 เปอร์เซ็นต์) พัฒนาโดยศูนย์วิจัยและพัฒนาสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยใช้ไมโครแซทเทลไลท์ และไมโทคอนเดรีย ดีเอ็นเอ (บริเวณ D- loop) การศึกษาครั้งนี้ใช้แพะเนื้อลูกผสมทรัพย์ ม.อ. 1 จํานวน 48 ตัว แพะพื้นเมืองภาคใต้ จํานวน 30 ตัว และแพะพันธุ์แองโกลนูเบียน จํานวน 30 ตัว ผลการศึกษาไมโครแซทเทลไลท์ 11 โลไซ พบ ค่าเฉลี่ยเฮตเทอโรไซโกซิตี้สังเกต และค่าเฮตเทอโรไซโกตซิตี้คาดหมาย ในแพะเนื้อลูกผสมทรัพย์ ม.อ.1 แพะพื้นเมืองภาคใต้ และแพะพันธุ์แองโกลนูเบียน มีค่า 0.296 (0.679), 0.338 (0.682) และ 0.329 (0.621) ตามลําดับ ซึ่งชี้ให้เห็นว่าประชากรแพะทุกกลุ่มมีความหลากหลายสูง เมื่อวิเคราะห์ การ เกิดประชากรกลุ่มย่อย (F) มีค่าเท่ากับ 0.138 แสดงให้เห็นว่าประชากรแพะทั้ง 3 กลุ่ม เกิด ประชากรกลุ่มย่อยเล็กน้อย จากการศึกษานี้พบว่าประชาการแพะทั้ง 3 กลุ่ม ผลจาก PCR-RFLP ของ ไมโทคอนเดรีย ดีเอ็นเอ แสดงรูปแบบจีโนไทป์ 2 รูปแบบ คือ GG และ GC แต่ไม่พบจีโนไทป์ cc ในแพะทั้ง 3 กลุ่ม สําหรับแพะพื้นเมืองภาคใต้ไม่สามารถตรวจพบจีโนไทป์ GC ทั้งนี้อาจ เนื่องจากอัลลีล C มีความจําเพาะต่อแพะพันธุ์แองโกลนูเบียน นอกจากนี้แพะเนื้อลูกผสมทรัพย์ ม.อ.1 และแพะพันธุ์แองโกลนูเบียน พบอยู่ในสมดุลของฮาร์ดี และไวน์เบิร์ก ส่วนแพะพื้นเมือง ภาคใต้ไม่สามารถทดสอบได้เนื่องจากพบรูปแบบอัลลีลและจีโนไทป์เพียงรูปแบบเดียว ทั้งนี้เมื่อนํา ผลค่าระยะห่างทางพันธุกรรมจากเทคนิคไมโครแซทเทลไลท์ และ ไมโทคอนเดรีย ดีเอ็นเอ สร้าง แผนภาพความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม โดยวิธี Neighbor Joining ด้วยโปรแกรม NTSYS V. 2.1 พบ สามารถจําแนกกลุ่มแพะที่ศึกษาออกได้เป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกประกอบด้วยแพะพันธุ์แองโกลนูเบียน และแพะเนื้อลูกผสมทรัพย์-ม.อ. 1 กลุ่มที่สอง ได้แก่ แพะพื้นเมืองภาคใต้ จากผลการศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่า แพะเนื้อลูกผสมทรัพย์ ม.อ. 1 มีความหลากหลายทางพันธุกรรมสูง และมีความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมใกล้เคียงกับแพะแองโกลนูเบียนมากกว่า แพะพื้นเมืองภาคใต้en_US
Appears in Collections:515 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
435293.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons