Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19495
Title: The Influence of gingival Biotypes on Tooth Movement and Periodontal Tissue in Anterior Retraction Phase / Pannapat Chanmanee
Other Titles: อิทธิพลของเหงือกไบโอไทป์ต่อการเคลื่อนฟันและเนื้อเยื่อปริทันต์ในการเคลื่อนฟันหน้า
Authors: Chairat Charoemratrote
Pannapat Chanmanee
Faculty of Dentistry
คณะทันตแพทยศาสตร์
Keywords: Gums Diseases Treament
Issue Date: 2019
Publisher: Prince of Songkla University
Abstract: Introduction: Protrusion of maxillary anterior teeth was usually found inorthodontic patients with highly esthetic demands. The gingival biotypes were the outcome predictors in several dental fields. Until now, no clinical prospective studies revealed the importance of gingival biotypes in orthodontic perspective. Objectives: Part I: To compare gingival thicknesses and five alveolar bone parameters on the labial and palatal sides between thick and thin gingival biotypes in anterior dentoalveolar protrusion teeth Part II: To compare the changes of gingival thicknesses and five alveolar bone parameters on the labial and palatal sides between thick and thin gingival biotypes in en masse retraction phase. Material and methods: Part I: The study included 240 anterior teeth from 40 healthy patients with skeletal Class I malocclusion with dentoalveolar protrusion. The thick (n = 108) and thin (n = 132) gingival biotypes were assessed by probe transparency. The gingival thicknesses and five alveolar bone parameters from cone beam computed tomography were measured. The differences between the thick and thin gingival biotype parameters were statistically analyzed by Mann-Whitney U test. Part II: The 32 adult subjects with protrusion of the upper anterior teeth (thick gingival biotype = 16, thin gingival biotype = 16) who were planned with bilaterally extraction of the maxillary first premolars. An 0.018x0.022-inch stainless steel wire anterior slots 0.018x0.025 inch and posterior slots 0.022x0.028 -inch slot. The en masse retraction was used NiTi coil spring delivery force 150 grams from upper canine to upper first molars bilaterally until 16 weeks period of observation. The Lateral cephalograms, study models were taken at pre-retraction (T1) and after 16 weeks of retraction (T2). The cone-beam compute tomograms were scanned after T2 3 months for bone remodeling. Non-parametric tests were used to analyze the data. Results: Part I: Gingival thickness and palatal bone gradually increased toward the apical area while the labial bone thickness was almost even in both gingival biotypes. The thick gingival biotype showed thicker gingiva and alveolar bone than in the thin gingival biotype. The thick gingival biotype showed a shorter distance from the alveolar crest to the cementoenamel junction and lower palatal cortical bone height than the thin gingival biotype. Cancellous bone was detected only at the palatal side in both gingival biotypes which started 4 mm above the crestal bone level toward the root apex in the thick gingival biotype and 8 mm in the thin gingival biotype. Additionally, the thick gingival biotype showed significantly greater palatal cancellous bone than the thin gingival biotype (P < 0.01). Part II: The thin gingival biotype showed faster rate of tooth movement and more upper incisors inclination change than the thick gingival biotype. Both gingival biotypes showed thickening of gingiva and labial alveolar bone and decreasing of palatal bone. The significant decreasing of palatal bone height that composed of pure cortical bone was observed in thin gingival biotype. Conclusion: Part I: Patients with anterior dentoalveolar protrusion teeth presented both thick and thin gingival biotypes. The thick gingival biotype showed more favorable alveolar bone parameters than the thin gingival biotype. Part II: The thick gingival biotype showed slow rate of tooth movement, less tipping movement of upper incisors and less palatal bone loss than thin gingival biotype.
Abstract(Thai): บทนํา: ฟันหน้าบนยื่นเป็นปัญหาที่พบบ่อยในผู้ป่วยเข้ารับการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันเนื่องด้วยความต้องการด้านความสวยงาม ซึ่งเหงือก ไบโอไทป์เป็นตัวช่วย พยากรณ์ผลการรักษาทางทันตกรรม ในแขนงต่างๆ แต่อย่างไรก็ตามในปัจจุบันนี้ยังไม่มี การศึกษาเชิงคลินิกไปข้างหน้าใดที่กล่าวถึงความสําคัญของเหงือกไบโอไทป์ในทางทันตกรรม จัดฟัน จึงเป็นที่มาสําหรับการศึกษานี้ วัตถุประสงค์: ส่วนที่ 1: เพื่อเปรียบเทียบความหนาของ เหงือกและพารามิเตอร์ของกระดูกทั้งด้านใกล้ริมฝีปากและใกล้เพดานระหว่างกลุ่มเหงือก ไบโอไทป์หนาและบางในผู้ป่วยกลุ่มฟันหน้าบนยื่น ส่วนที่ 2: เพื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง ของความหนาของเหงือกและพารามิเตอร์ของกระดูกทั้งด้านใกล้ริมฝีปากและใกล้เพดาน ระหว่างกลุ่มเหงือกไบโอไทป์หนาและบางในการเคลื่อนฟันหน้าบนแบบกลุ่ม ระเบียบวิธีวิจัย: ส่วนที่ 1: การศึกษานี้รวมจํานวนฟันหน้าบน 240 ซี่จากผู้ป่วยที่มีสุขภาพดีจํานวน 40 คน ที่มี ความผิดปกติของโครงสร้างกระดูกประเภทที่ 1 กับการยื่นของฟันและกระดูก กลุ่มเหงือก ไบโอไทป์หนาจํานวน 108 ซี่ และกลุ่มเหงือกไบโอไทป์บางจํานวน 132 ซี่ ด้วยวิธีความโปร่งใส ของโพรบ ทําการวัดความหนาของเหงือกและพารามิเตอร์กระดูกถุงจากภาพถ่ายรังสีสามมิติ ชนิดคอมพิวเตด โทโมกราฟฟี และวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างพารามิเตอร์ของกลุ่ม เหงือกไบโอไทป์หนาและบางโดยใช้การทดสอบแมน-วิทนีย์ ส่วนที่ 2: ผู้ป่วยฟันหน้าบนยื่น จํานวน 32 ราย (กลุ่มเหงือกไบโอไทป์หนา 16 ราย, กลุ่มเหงือกไบโอไทป์บาง 16 ราย) ซึ่งถูก วางแผนด้วยการถอนฟันกรามน้อยซี่ที่หนึ่งทั้งสองข้าง โดยใช้ลวดเหล็กกล้าไร้สนิมขนาด 0.018x0.022 นิ้ว บนช่องใส่ลวดขนาด 0.018x0.025 นิ้ว สําหรับฟันหน้าและ 0.022x0.028 นิ้ว สําหรับฟันหลัง การดึงฟันหน้าแบบกลุ่ม โดยใช้คอยล์สปริงชนิดนิกเกิลไทเทเนียมส่งแรง 150 กรัมจากฟันเขี้ยวบนถึงฟันกรามซี่ที่หนึ่งทั้งสองข้างจนกระทั่งระยะเวลา 16 สัปดาห์ ภาพถ่ายรังสีศีรษะด้านข้างและแบบจําลองฟันถูกเก็บที่ระยะก่อนการดึงฟันหน้าบนและหลัง การดึงฟันหน้าบน 16 สัปดาห์หลังจากนั้นรอเวลา 3 เดือนสําหรับการเปลี่ยนแปลงของกระดูก เพื่อถ่ายภาพรังสีสามมิติชนิดคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี การทดสอบแบบนอนพาราเมตริกถูก นํามาใช้เพื่อวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษา: ส่วนที่ 1: ความหนาของเหงือกและกระดูกด้านใกล้ เพดานเพิ่มขึ้นทีละน้อยในบริเวณปลายยอดในขณะที่ความหนาของกระดูกด้านใกล้ริมฝีปากนั้น เกือบจะคงที่ทั้งในเหงือก ไบโอไทป์สองชนิด เหงือก ไบโอไทป์หนามีความหนาเหงือกและ กระดูกมากกว่าเหงือก ไบโอไทป์บาง ในกลุ่มเหงือก ไบโอไทป์หนาความหนามีระยะจาก ซีเมนโตอีนาเมลจังชันถึงสันกระดูกเบ้าฟันที่สั้นกว่า และระดับกระดูกทึบด้านใกล้เพดานที่สูงกว่าเหงือกไบโอไทป์บาง และพบกระดูกโปร่งที่ด้านใกล้เพดานในทั้งสองกลุ่มเหงือกไบโอไทป์โดยเริ่มต้นจากระดับสันกระดูกเบ้าฟันไปสู่ปลายรากฟัน ซึ่งในกลุ่มเหงือกไบโอไทป์หนา เริ่มต้นที่ระดับ 4 มิลลิเมตร และกลุ่มเหงือกไบโอไทป์บางเริ่มต้นที่ระดับ 8 มิลลิเมตร นอกจากนี้ กลุ่มเหงือกไบโอไทป์หนามีกระดูกโปร่งด้านใกล้เพดานที่หนากว่ากลุ่มเหงือกไบโอไทป์บางมีนัยสําคัญ (P <0.01) ส่วนที่ 2: กลุ่มเหงือกไบโอไทป์บางมีอัตราการเคลื่อนพื้นที่เร็วขึ้นและมีการ เปลี่ยนแปลงความเอียงของฟันหน้าบนมากกว่ากลุ่มเหงือก ไบโอไทป์หนา โดยทั้งสองกลุ่ม เหงือกไบโอไทป์มีความหนาของเหงือกและกระดูกด้านใกล้ริมฝีปากที่เพิ่มขึ้น และการบางลง
Description: Master of Dentistry (Oral Health Sciences)), 2019
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19495
Appears in Collections:650 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
435478.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons