Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19476
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อีสมาแอ กาเต๊ะ | - |
dc.date.accessioned | 2024-06-18T07:29:35Z | - |
dc.date.available | 2024-06-18T07:29:35Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19476 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this study is l. To explore conditions, and characteristics of Islamic research methods and Muslim research in the context of higher education institutions in the field of Islamic research in Thailand. The framework for the study of Islamic and Muslim studies in institutions of higher education of Islamic studies in Thailand; and 3. Determine the suggested direction for the development of Islamic research methods and Muslim research, so as to apply them in the context of higher education institutions specializing in Islamic research. This study is a qualitative study that collects information from relevant documents through interviews and group discussions, bringing the above information to descriptive analysis Research result 1) It is found that the overall situation of the research topic is at a fairly complete level. There are many unclear books about the background and importance of research issues. The research purpose is sometimes irrelevant to the research results. Most assumptions do not always exist. The benefits of writing expectations are usually based on research purposes. Most of the introductions to the Koran and the Hadith are found in Chapter 2, some of which are not. Some of the research findings introduced in the Koran and the first chapter of the Koran have been edited in large numbers. The conclusion is not drawn after the plagiarism text ends. The nature of the research scope defines the research scope and clearly defines the framework of the research problem. The research method is a clear description of the traditional and acceptable research methods in each field. In addition, it is also found that some papers put forward the method of using Islamic research and analysis methods in different fields to analyze data. As for the papers on Islamic studies and Muslim studies, it was found that some purposes were not put forward when summarizing and discussing the research results. The bibliographic writing is not uniform, especially the bibliography and appendix of Arab films. In the appendix sometimes there may be no treatment method for human research. Research results 2) 1. The choice of research topics should be contemporary problems and social solutions 2. The presentation of problems and the background of problems. The history of the problem should come from the situation or research with clear evidence, 3. The research objectives must be within the framework of the research theme. The expected research benefits should be consistent with the research objectives 4. Good research must be beneficial to human beings and the environment for a long time. 5. It must be pointed out that the theory developed or borrowed has proved that the research has a reliable basis, 6. Each letter in Arabic is written with Sula, followed by numbers, and Hadis also written with numbers.7. Write the research method. Part 1 describes how to repeat the research problem. Starting from the content of the research method section, the researcher will sort the questions or problems that the researcher intends to study and add assumptions (if any) to them. Or write down what you want to prove through this research. Define the research method. In é general, the research method is either qualitative or quantitative. But sometimes the two methods are mixed 8. Introduction, summary and discussion of research results submit conclusions according to the objectives or summarize discussion each research results Submit conclusions research question in a separate and ◦ concise way. When discussing the results, it must be clarified that the results of each study are objective or may exceed each goal, if more. Why is it consistent with the theory, principle or philosophy used? 9. Bibliographic writing should be prepared according to the priority of resources, such as 1) primary resources 2) secondary resources 3) Each three-level resource starts with Thai, Arabic, Malay, and English, and is arranged in alphabetical order. In addition to Thai and other languages, the Roman (English) quadrant shall indicate the original name of each language in brackets next to the quadrant name. Title (year of printing) Name of the work (if it is in another language, please indicate the original name and language). Printing place: printing source.10. The appendix should start from the primary, secondary, and secondary sources respectively, starting from Thai, Arabic and Malay. English respectively. Define a compact appendix source name and indicate the scrial number with Thai numbers or letters (only). The research results of Goal 1 should include subjects such as Thai Muslim society and Muslim world.2. Islamic and Muslim studies, including literature studies, such as books, textbooks, or manuscripts in any American language or other languages, especially books in Yawi, Malay, Nusantala, ete., and research results are put into practice. It can solve social problems and can be applied in practice. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี | en_US |
dc.subject | อิสลามศึกษา | en_US |
dc.subject | สิ่งพิมพ์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.title | การศึกษากรอบวิธีวิจัยอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษาเพื่อนำปรับใช้ในบริบทสถาบันอุดมศึกษาที่มีสาขาวิชาอิสลามศึกษาในประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | A study of the research methodology framework for Islamic studies and Muslim studies to be applied in the context of higher educaton institutions with a granch of Islamic studies in Thailand | en_US |
dc.title.alternative | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การศึกษากรอบวิธีวิจัยอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษาเพื่อนำปรับใช้ในบริบทสถาบันอุดมศึกษาที่มีสาขาวิชาอิสลามศึกษาในประเทศไทย | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.contributor.department | College of Islamic Studies (Islamic Studies) | - |
dc.contributor.department | วิทยาลัยอิสลามศึกษา (อิสลามศึกษา) | - |
dc.description.abstract-th | งานวิจัยนี่มีวัตถประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสภาพ ลักษณะวิธีวิจัยอิสลามศึกษาและมุสลิม ศึกษาในบริบทสถาบันอุดมศึกษาที่มีสาขาวิชาอิสลามศึกษาในประเทศไทยปัจจุบัน 2. เพื่อศึกษา กรอบวิธีการวิจัยอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษาในบริบทสตาบันฤุดมศึกษาที่มีสาชาวิชาอีสลามศึกษา ในประเทศไทย และ 3. เพื่อกำหนดทิศทางขอเสนอแนะในการพัฒนาวิธีวิจัยอิสลามศึกษาและมุสลิม ศึกษาเพื่อนำปรับใช้ในบริบทสถาบันอุคมศึกษาที่มีสาขาวิชาอิสลามศึกษาในประเทศไทย การวิจัยใน ครั้งนี้เป็นการวิจัยเขิงคุณภาพโดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจากการสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม นาข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์เชิงพรรณนาบารยาช ผลการวิจัย1) พบว่า สภาพการตั้งหัวข้อวิจัยโดยภาพรามอยู่ในระดับค่อนข้างจะสมบูรณ์ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาการวิจัยมีหลายเล่มที่ไม่ชัดเจน วัตฤประสงค์การวิจัย บางครั้ง น้าเสนอวัตถุประสงค์ไม่เกี่ยวข้องกับผลการวิจัย ส่วนสมมติฐานมักจะไม่คอยมีเป็นส่วนมาก การเขียน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ มักจะน้าเอาวัตถประสงค์การวิจัยมาเขียนเป็นส่วนใหญ่ การน้าเสนอ อัลกุรอาน อัลหะดีษ ส่วนใหญ่ที่พบนำเสนอในบหที่สอง พร้อมมีการน่าเสนออรรถาธิบายอัลกุรอาน และบางเรื่องก็ไม่การนำเสนออรรถาธิบายอัลกุรอานและบางงานวิจัยน่าเสนอในบทที่หนึ่ง ส่วน เอกสารที่เกี่ยวข้อง มีการเขียนแบบตัดต่อมาก ไม่สรุปตอนท้ายหลังจากจบข้อความที่น่ามาไส่ ลักษณะขอบเขตของการวิจัย มีการกาหนคขอบเขตการวิจัยเป็นการกำหนคกรอบของปัญหาการวิจัย ได้ชัดเจน วิธี้ดำเนินการวิจัยเป็นส่วน ระบุวิธีดำเนิ่นการวิจัยตามแบบแผนและที่เป็นที่ยอมรับในแต่ละ สาขาอย่างละเอียดชัดเจน นอกจากนี้ยังพบอีกบางวิทยานิพนธ์ได้น้าเสนอวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ วิธีการวิเคราะห์เซิงอิสลามศึกษาในสาขาต่าง ๆ ส่วนงานนิพนธ์สาขาอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา พบว่า บางวัตถุประสงค์ไม่มีการนำเสนอในบทสรุปและอภิปรายผลการวิจัย การเขียนบรรณานุกรมยัง ไม่เป็นเอกภาพโดยเฉพาะการเขียนบรรณานุกรมหนังที่เป็นภาษาอาหรับ และในส่วนของภาคผนวก บาครั้งอาจไม่มีการรักษาการวิจัยในมนุษย์ ผลการวิจัยจากวัตฤประสงค์ข้อที่ 2) 1. ด้านการเลือกหัวข้อวิจัย ควรเป็นปัญหาร่วมสมัยและ แก้ปัญหาสังคม 2. ด้านการนำเสนอปัญหาและความเป็นมาของปัญหา น่าเสนอในประเด็นที่เป็น ปัญหาจริง ๆ และความเป็นมาของปัญหาควรมาจากสถานการณ์ หรืองานวิจัยที่มีหลักฐานอ้างอิง ชัดเจน 3. ด้านการเขียนวัตฤประสงค์ของการวิจัย ต้องอยู่ภายในกรอบของหัวข้อวิจัย 4. ด้านการ เขียนประโยนซ์ของการวิจัย ประโยชน์ของงานวิจัยที่คาคว่าจะได้รับ แต่ละข้อต้องสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของการวิจัย วิจัยที่ดีต้องมีประโยชน์ต่อมวลมนุษย์และสภาพแวดล้อมยาวนาน 5. ด้าน การน้าเสนอทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ต้องให้เห็นว่าทฤษฎีที่บัญญัติขึ้นหรือที่หยิบยืมมาใช้นั้น ยื่นยันว่างานวิจัยมีรากฐานที่มาที่เชื่อถือได้ 6. ด้านการอ้างอิงโองการอัลกุรอาน และอัลหะดีษ ใส่ตัว บทภาษาอาหรับทุกครั้ง ชื่อซูเราะอและตามด้วยตัวเลข ส่วนหะดีษก็ตามคัวหมายเลข 7. ด้านการเขียนระเบียบวิธีการวิจัย ส่วนที่ 1 อธิบายวิธีการ กล่าวซ้ำถึงปัญหาการวิจัย เริ่มต้นเนื้อหาส่วนระเบียบวิธีวิจัยด้วยการเรียงลำดับปัญหาหรือคำถามที่ผู้วิจัยตั้งใจจะศึกษา ใส่ สมมุติฐานลงไปด้วยถ้ามี หรือเขียนสิ่งที่ต้องการจะพิสูจน์ผ่านการทำวิจัยนี้ กำหนดวิธีวิจัย โดยรวม แล้วีชีวิจัยจะเป็นเชิงวิจัยคุณภาพหรือไม่ก็ปริมาณ แต่ในบางครั้งก็อาจจะใช้ทั้งสองวิธีผสมกัน 8. ด้านการน้ำเสนอผลการวิจัย สรุปและอภิปรายผลการวิจัย น่าเสนอผลสรุปให้สอดคล้อง วัตถุประสงค์หรือสรุปในลักษณะตอบคำถามวิจัยแต่ละข้อตามล่าดับและอย่างรวบรัดชัดเจน ในการ อภิปรายผลต้องชี้แจงว่าผลการวิจัยแต่ละข้อนั้นได้ตามวัตถุประสงค์หรืออาจจะมากกว่าวัตถุประสงค์ แต่ละข้อ หากมากกว่า เพราะอะไรและสอดคล้องกับทฤษฎี หลักการหรือหลักปรัชญาที่ใช้อย่างไรบ้าง 9. ด้านการเขียนบรรณานุกรม ควรเขียนตามลำดับระดับความสำคัญของแหล่งข้อมูล เช่น 1) แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ 2) แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ และ 3) แหล่งข้อมูลตติยภูมิ แต่ละแหล่งข้อมูล ให้เริ่ม จากภาษาไทย ภาษาอาหรับ มลายู และอังกฤษ ตามลำดับและเรียงตามตัวอักษรแต่ละภาษา นอกจากภาษาไทย ภาษาอื่น ๆ ให้ปริวรรตอักษรโรมัน (อังกฤษ) โดยกำกับชื่อเติมของแต่ละภาษาไว้ ในวงเล็บถัดจากชื่อปริวรรต ใช้รูปแบบนามสกุล, ชื่อ. (ปีที่พิมพ์). ชื่อผลงาน (กำกับชื่อและภาษาเดิม หากเป็นภาษาอื่น). สถานที่พิมพ์: แหล่งพิมพ์ 10. ด้านการเขียนภาคผนวก ควรเริมจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และติยภูมิตามลำตับ ให้เริ่มจากภาษาไทย ภาษาอาหรับ มลายู และอังกฤษ ตามสำดับ กำหนดชื่อแหล่งข้อมูลภาคผนวก อย่างกะทัดรัดและกำกับเลขลำดับโดยอาจเป็นตัวเลขหรือตัวอักษรภาษาไทย (เท่านั้น) ผลการวิจัยจากวัตถุประสงค์ข้อที่ 3) 1. ควรมีรายวิซา เช่น สังคมมุสลิมไทยและโลกมุสลิม เป็นต้น 2. งานวิจัยทั้งหลายทางด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษาทั้งวิจัยเอกสาร เช่นงานวิจัยเชิง วิเคราะห์หนังสือ ตำรา หรือหนังสือต้นฉบับ (การตะฮกีก ต้นฉบับ) ใด ๆ ทางภาษาอาหรับ หรือภาษา อื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิงตำราหนังสือยาวี มลายู นูชันตารา เป็นต้น ผลงานวิจัยน่าไปใช้จริง สามารถ แก้ปัญหาสังคมได้จริง และสามารถประยุคต์ใช้ได้จริง | en_US |
Appears in Collections: | 761 Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
455334.pdf | 452.63 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.