Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19464
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Bancha Samruajbenjakun | - |
dc.contributor.author | Theerasak Nakornnoi | - |
dc.date.accessioned | 2024-06-07T07:02:42Z | - |
dc.date.available | 2024-06-07T07:02:42Z | - |
dc.date.issued | 2019 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19464 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy ( Oral Health Sciences), 2019 | en_US |
dc.description.abstract | Introduction: A need of developing new methods to accelerate tooth movement has been recently investigated. Leukocyte-platelet-rich plasma (L-PRP) has been introduced as a source of autologous growth factors and secretary cytokines that are involved in bone remodeling and inflammatory process during orthodontic tooth movement. Thus, the administration of L-PRP could be used in order to accelerate tooth movement and reduce treatment time. However, no data are available on the use of L- PRP to accelerate orthodontic tooth movement. Objectives: To determine the effects of a local injection of L-PRP on the rate of orthodontic tooth movement, alveolar bone changes, and osteoclastic activity in rabbits. Materials and methods: Twenty-three male New Zealand white rabbits were included in a split-mouth design. Tooth movement with a 100-gram nickel-titanium closed-coil spring was performed on the maxillary first premolars. L-PRP was injected submucosally at the buccal and lingual areas of the first premolar in one random side of the maxilla and the other side served as the control and received normal saline. The amount of tooth movement was assessed on three-dimensional digital models at day 0 as the baseline and on days 3, 7, 14, 21, and 28. The bone volume fraction and the osteoclast numbers were assessed at 0, 7, 14, and 28 days by microcomputed tomography (micro-CT) and histomorphometric analysis, respectively. Results: The L-PRP group showed a significantly increased cumulative amount of tooth movement at all observed periods. However, a significantly higher rate | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Prince of Songkla University | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | Orthodontics | en_US |
dc.title | Effects of Leukocyte-Platelet-Rich Plasma on Accelerated Orthodontic Tooth Movement in Rabbits | en_US |
dc.title.alternative | ผลของลิวโคไซต์เพลทเลทริชพลาสมาที่มีต่ออัตราเร็วในการเคลื่อนฟันทางทันตกรรมจัดฟันในกระต่ายทดลอง | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Dentistry | - |
dc.contributor.department | คณะทันตแพทยศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | บทนํา วิธีในการเพิ่มความเร็วในการเคลื่อนฟันทางทันตกรรมจัดฟันยังคงเป็น ประเด็นที่น่าสนใจในหลายการศึกษา เพลทเลทริชพลาสมาเป็นสารชนิดหนึ่งซึ่งประกอบไปด้วยสารชีวโมเลกุลจําพวกโกรทแฟคเตอร์และไซโตไคน์ที่สําคัญหลายชนิดที่มีบทบาทต่อกระบวนการปรับรูปกระดูกและอวัยวะปริทันต์ รวมถึงกระบวนการอักเสบที่เกิดขึ้นในการเคลื่อนฟัน ดังนั้นการนําลิวโคไซต์เพลทเลทริชพลาสมามาประยุกต์ใช้จึงน่าจะส่งผลต่อการเพิ่มความเร็วในการเคลื่อนฟันและลดระยะเวลาในการรักษาทางทันตกรรมจัดฟัน แต่อย่างไรก็ตามยังไม่มีการศึกษา ใดที่ศึกษาผลของการฉีดเฉพาะที่ของลิวโคไซด์เพลทเลทริช พลาสมาที่มีต่อความเร็วในการเคลื่อนฟัน วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการฉีดเฉพาะที่ของลิวโคไซต์เพลทเลทริช พลาสมาที่มีต่อความเร็วในการเคลื่อนฟัน การตอบสนองของกระดูกเบ้าฟัน และปริมาณของ เซลล์สลายกระดูกในกระต่ายทดลอง วัสดุและวิธีการ กระต่ายทดลองสายพันธุ์ New Zealand white rabbit เพศผู้ จํานวน 23 ตัว จะได้รับการทดลองแบบแบ่งส่วนในช่องปาก (split mouth) โดยจะทําการเคลื่อน ฟันด้วยการให้แรงจากสปริงในปริมาณ 100 กรัมที่ฟันกรามน้อยบนที่หนึ่งทั้งสองข้าง จากนั้น ขากรรไกรบนด้านซ้ายและด้านขวาจะถูกสุ่มเพื่อใช้ในการทดลองคือ ด้านทดลองจะได้รับการฉีดเฉพาะที่ด้วยลิวโคไซต์เพลทเลทริชพลาสมา ในขณะที่ด้านควบคุมจะได้รับการฉีดเฉพาะที่ด้วยน้ําเกลือ โดยวิธีการฉีดใต้ชั้นเยื่อเมือกที่บริเวณด้านแก้มและเพดานของฟันกรามน้อยซี่ที่หนึ่ง จากนั้นจะทําการเก็บตัวอย่างกระดูกขากรรไกรบนไปวิเคราะห์ปริมาณการเคลื่อนฟันด้วย แบบจําลองฟันดิจิตอลที่ช่วงเวลา 0, 3, 7, 14, 21 และ 28 วัน อีกทั้งทําการวัดอัตราส่วนปริมาตร กระดูก (bone volume fraction) โดยการถ่ายภาพรังสีส่วนตัดขนาดเล็กด้วยคอมพิวเตอร์(micro-CT) และปริมาณของเซลล์สลายกระดูกด้วยกล้องจุลทรรศน์ที่ช่วงเวลา 0, 7, 14 และ 28 วัน ผลการวิจัย กลุ่มที่ได้รับลิวโคไซต์เพลทเลทริชพลาสมามีระยะทางการเคลื่อน ฟันที่มากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติในทุกช่วงเวลา โดยพบการเพิ่มขึ้นของอัตรา การเคลื่อนฟันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติในช่วง 0-7 และ 7-14 วัน อีกทั้งพบการลดลงของ อัตราส่วนปริมาตรกระดูกอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ช่วงเวลา 7 และ 14 วัน ซึ่งสอดคล้องกับ การเพิ่มขึ้นของปริมาณเซลล์สลายกระดูกที่มากกว่ากลุ่มควบคุมที่ช่วงเวลา 7 และ 14 วัน สรุปผล การฉีดเฉพาะที่ของลิวโคไซด์เพลทเลทริชพลาสมามีผลต่อการเพิ่มขึ้นของความเร็วในการเคลื่อนฟัน ด้วยการลดลงของอัตราส่วนปริมาตรกระดูกและการเพิ่มขึ้นของ ปริมาณเซลล์สลายกระดูก | en_US |
Appears in Collections: | 650 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
435341.pdf | 1.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License