กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19333
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อับดุลฮากัม เฮ็งปิยา | - |
dc.contributor.author | เสรี พวงมณี | - |
dc.date.accessioned | 2024-01-25T07:01:51Z | - |
dc.date.available | 2024-01-25T07:01:51Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19333 | - |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารและการจัดการการศึกษาอิสลาม), 2566 | en_US |
dc.description.abstract | This research entitled Factor Analysis and state of the Implementation of Islamic Ethics in Iqra Muslim School, Bangkok is aimed to 1) analyze components of Islamic Ethics of affiliated schools of Iqra Muslim School Bangkok, 2) study the state of the implementation of Islamic Ethics in Iqra Muslim School, Bangkok. The Samples consisting of 173 people were divided into 2 groups. The first group selected for exploratory analysis consisted of 148 administrators, teachers, and officials of affiliated schools of Iqra Muslim School that used the Maktab Islamic Studies Curriculum. The second group, comprising 25 samples, was used for a study on the state of the Implementation of Islamic Ethics in Iqra Muslim School, Bangkok. Mixed-methods research, which combines quantitative research methods and qualitative research methods was used in this study. Questionnaires were employed to address the first research objective. Data obtained from questionnaires were analyzed using Principal Component Analysis – PCA and Factor Extraction. The questions for focus group discussion served as the research instrument used to address the second research objective. The data obtained from group discussions were analyzed using content analysis. The results of the research indicate that components of Islamic Ethics of affiliated schools of Iqra Muslim School Bangkok consist of 6 components with 30 indicators. Of these Adalah with 6 indicators, Syura with 6 indicators, Itqan with 5 indicators, Amanah with 5 indicators, Muraqabah with 4 indicators, and Ikhlas with 4 indicators. The components are found to be reliable and the internal consistency is very high. The results of the qualitative research found that Iqra Muslim School Bangkok operates in an Islamic environment that focuses on Islam as the base of management (Islamic Based Management). Under this environment, the school enables to forge a bond between its administrators, teachers, staff, and personnel by encouraging them (targheeb) to see the value of their work by expecting to gain the satisfaction of Allah Ta'ala, hoping for merit and success both in this world and the next world. Positive encouragement was provided through hadiyah (reward). Clear religious and general policies were set in the school. Members of the school set their goals together which were to create an excellent nation (Ummah al-wustaa). In addition, the school's focus on personnel development, work instruction, work distribution, and continuous follow-up work was also apparent. There is a system for the disbursement of materials, equipment, and various budgets, a system for checking, summarizing the work, and evaluating the work clearly. All these systems were run through predominant activities and practices that encourage everyone to appreciate the value of the identity of being an Islamic school. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การวิเคราะห์องค์ประกอบและสภาพการดำเนินงาน | en_US |
dc.subject | หลักจริยธรรมอิสลาม | en_US |
dc.subject | โรงเรียนอิกเราะสามัญศึกษา | en_US |
dc.subject | โรงเรียนมุสลิม , กรุงเทพมหานคร | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์องค์ประกอบและสภาพการดำเนินงานตามหลักจริยธรรมอิสลาม ของโรงเรียนอิกเราะสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร | en_US |
dc.title.alternative | Factor Analysis and State of the Implementation of Islamic Ethics in Iqra Muslim School, Bangkok | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Islamic Sciences | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการอิสลาม | - |
dc.description.abstract-th | การทําวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์องค์ประกอบและสภาพการดําเนินงานตามหลัก จริยธรรมอิสลามของโรงเรียนอีกเราะสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ องค์ประกอบการดําาเนินงานตามหลักจริยธรรมอิสลามของโรงเรียนเครือข่ายโรงเรียนอีกเราะสามัญ ศึกษา กรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาสภาพการดําเนินงานตามหลักจริยธรรมอิสลามของโรงเรียน อิกเราะสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ มีจํานวนทั้งสิ้น 173 คน ซึ่ง แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 จํานวน 148 คน เป็นผู้บริหาร ครูและพนักงานของโรงเรียนเครือข่าย ที่ใช้หลักสูตรอิสลามศึกษาแบบมักตับ เป็นกลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิเคราะห์องค์ประกอบ กลุ่มที่ 2 จํานวน 25 คน เป็นผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระ หัวหน้าช่วงชั้น หัวหน้าฝ่ายตัรบียะฮ์ และหัวหน้าแผนกต่างๆ จํานวน 25 คนของโรงเรียนอีกเราะสามัญศึกษา เป็นกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาสภาพดําเนินงานตามหลัก จริยธรรมอิสลามของโรงเรียนอีกเราะสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลด้วย เทคนิคการวิจัยเชิงผสานวิธี (Mixed methods research) ระหว่างวิธีวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยใช้โรงเรียนอีกเราะสามัญศึกษาเป็นหน่วยวิเคราะห์ (unit of analysis) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูป ผู้วิจัยใช้เทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก (Principle Component Analysis – PCA) โดยใช้ โปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติเพื่อสกัดองค์ประกอบ (Factor Extraction) และเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เป็นประเด็นคําถามที่ใช้สําหรับการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่า องค์ประกอบการดําเนินงานตามหลักจริยธรรมอิสลาม ของโรงเรียนเครือข่ายโรงเรียนอีกเราะสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ 30 ตัวแปรสังเกต ได้แก่ 1) หลักอะดาละฮฺ (Adalah ; หลักความเที่ยงธรรม ความเหมาะสม) มี 6 ตัว แปรสังเกต 2) หลักชูรอ (Syura ; การปรึกษาหารือและการมีส่วนร่วม) มี 6 ตัวแปรสังเกต 3) หลักอิตกอน (Itqan ; การมุ่งพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ) มี 5 ตัวแปรสังเกต 4) หลักอะมานะฮฺ (Amanah ; ความรับผิดชอบ) มี 5 ตัวแปรสังเกต 5) หลักมุรอกอบะฮฺ (Muragabah ; หลักความ โปร่งใส ตรวจสอบได้) มี 4 ตัวแปรสังเกต และ 6) หลักอิคลาศ (Ikhlas ; ความบริสุทธิ์ใจ) มี 4 ตัวแปร สังเกต โดยองค์ประกอบที่ได้ถือว่าเป็นองค์ประกอบที่เชื่อถือได้ มีความสอดคล้องภายในอยู่ในระดับดีมาก ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า โรงเรียนอีกเราะสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร มีสภาพ การดําเนินงานในบรรยากาศอิสลามที่มุ่งเน้นวิถีอิสลามเป็นฐานในการจัดการ (Islamic Based Management) หล่อหลอมผู้บริหาร ครู พนักงานและบุคลากรของโรงเรียนด้วยการกระตุ้น (ตัวรีบ) ให้ เห็นคุณค่าของงานด้วยการมุ่งหวังความพึงพอพระทัยจากอัลลอฮฺ หวังในผลบุญและความสําเร็จทั้ง ในโลกนี้และโลกหน้า มีการเสริมกําลังใจเชิงบวกด้วยการมอบฮะดิยะฮฺ (รางวัล) มีการจัดวางโครงสร้าง การบริหาร กําหนดนโยบายทางด้านศาสนาและนโยบายทั่วไปอย่างชัดเจน กําหนดเป้าหมายร่วมกันคือ การสร้างประชาชาติ (อุมมะฮฺ) ที่เลอเลิศ นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาบุคลากร การสอนงาน การกระจาย งาน และการติดตามงานอย่างต่อเนื่อง มีระบบเบิกจ่ายวัสดุอุปกรณ์และงบประมาณต่างๆ ระบบ ตรวจสอบ สรุปงานและประเมินผลงานที่ชัดเจน ผ่านกิจกรรมและวิธีปฏิบัติอันเด่นชัดที่ผลักดันให้ทุกคน เห็นคุณค่าในอัตลักษณ์แห่งการเป็นโรงเรียนวิถีอิสลาม | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | 761 Thesis |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
6320420103.pdf | 5.34 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License