Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19332
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลจิรา อุดมอักษร-
dc.contributor.authorเอวิกา บุญลิมปนะ-
dc.date.accessioned2024-01-25T06:55:46Z-
dc.date.available2024-01-25T06:55:46Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19332-
dc.descriptionเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร), 2566en_US
dc.description.abstractThe objective of this study was to analyze the work and the adequacy of manpower in the department of pharmacy and consumer protection in a community hospital, and use the obtained information to improve the efficiency of outpatient pharmacy dispensing services. The researchers studied work categories and quantities of pharmacists and pharmacy technicians during the weekdays by reviewing relevant documents, interviewing personnel in the department and observing work flow. Standard working hours were determined from literature reviews, stop watch time study and expert opinion for tasks without standard time. Data were prospectively collected during October 1, 2019 - September 30, 2020 and retrospectively collected during October 1, 2018 - September 30, 2019. Subsequently, the obtained information was used to analyze the adequacy of manpower in various assumptions and to improve work efficiency. Annual workloads of pharmacists and pharmacy technicians were 15,137.16 and 10,846.12 hours, equivalent to manpower of 9.01 and 6.46 people, respectively. The actual numbers of workers operators were 8 and 6, respectively, that were slightly less than the number that should be. Therefore, work efficiency was purposively improved in outpatient dispensing services because it needed manpower more than the other works. Improvement focused on minimizing the waiting time between work processes. After improvement of outpatient dispensing service, waiting time between work processes significantly reduced from 27.83±16.75 to 12.59±8.90 minutes, while working time significantly reduced from 5.40±2.77 to 4.81±2.40 minutes, (P<0.05), resulting in a significant decrease in patients’ waiting time from 33.23±16.98 to 17.39±9.44 minutes (P<0.05). Work study is an effective method to be taken if an organization has an inadequate manpower. The method provides information that suggests the approach to improve work efficiency with existing manpower without the need to increase manpower.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการวิเคราะห์งานen_US
dc.subjectอัตรากำลังen_US
dc.subjectงานเภสัชกรรมโรงพยาบาลen_US
dc.subjectประสิทธิภาพการทำงานen_US
dc.titleการศึกษางานของกลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค: กรณีศึกษาในโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งen_US
dc.title.alternativeWork Study of Pharmacy and Health Consumer Protection Department: Case Study of A Community Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Pharmaceutical Sciences (Pharmacy Administration)-
dc.contributor.departmentคณะเภสัชศาสตร์ ภาควิชาบริหารเภสัชกิจ-
dc.description.abstract-thการวิจัยประยุกต์นี้ เป็นการศึกษางาน ความเพียงพอของอัตรากำลังคน และ ปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของกลุ่มงานเภสัชกรรม ฯ ทำการศึกษาประเภท และปริมาณงาน ของเภสัชกร และเจ้าพนักงานเภสัชกรรม ในวันและเวลาราชการ โดยศึกษาจากเอกสาร การ สัมภาษณ์ และสังเกต หาเวลามาตรฐานในการทำงานจากการทบทวนวรรณกรรม ใช้เทคนิคจับเวลา การทำงาน และความเห็นผู้เชี่ยวชาญสำหรับงานที่ไม่มีเวลามาตรฐาน เก็บข้อมูลแบบไปข้างหน้า (1 ตุลาคม 2562- 30 กันยายน 2563) และย้อนหลัง (1 ตุลาคม 2561- 30 กันยายน 2562) วิเคราะห์ ความเพียงพอของอัตรากำลังคนในเงื่อนไขต่างๆ และดำเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน ผลการวิจัยพบว่าปริมาณงานต่อปีของเภสัชกร และเจ้าพนักงานเภส้ชกรรม เท่ากับ 15,137.16 และ 10,846.12 ชั่วโมง เมื่อคิดเป็นอัตรากำลังจะได้ 9.01 และ 6.46 คน ตามลำดับ ขณะที่ปัจจุบันมีเภสัช กร และเจ้าพนักงานเภสัชกรรมปฏิบัติงาน 8 และ 6 คน ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่าจำนวน ผู้ปฏิบัติงานจริงน้อยกว่าจำนวนผู้ปฏิบัติที่ควรมีเพียงเล็กน้อย ดังนั้นจึงมีการปรับปรุงประสิทธิภาพ การทำงาน โดยเลือกศึกษางานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก เนื่องจากเป็นงานที่ใช้อัตรากำลังมากที่สุด จากงานทั้งหมด โดยเน้นการลดระยะเวลารอคอยงานระหว่างขั้นตอนการทำงานลงให้เหลือน้อยที่สุด หลังดำเนินการปรับปรุงงานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก สามารถลดเวลาที่ใช้รอคอยงานระหว่างขั้นตอน การทำงานลงจาก 27.83±16.75 นาที เป็น 12.59±8.90 นาที ร่วมกับการลดเวลาที่ใช้ทำงานลงจาก 5.40±2.77 นาที เป็น 4.81±2.40 นาที อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ซึ่งส่งผลให้เวลารอรับยา ของผู้ป่วยลดลงจาก 33.23±16.98 นาที เหลือเพียง 17.39±9.44 นาที อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ดังนั้นการศึกษางานเป็นวิธีการที่มีประสิทธิผลซึ่งควรดำเนินการก่อน หากมีปัญหาอัตรา กำลังคนไม่เพียงพอ เพื่อหาวิธีปรับเปลี่ยนแนวทางการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดการใช้ อัตรากำลังเท่าที่มีอย่างเหมาะสมได้โดยไม่จำเป็นต้องเพิ่มอัตรากำลังen_US
Appears in Collections:575 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6110721015.pdf2.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons