Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19311
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โอภาส เกาไศยาภรณ์ | - |
dc.contributor.author | กฤตภาส โอชาอัมพวัน | - |
dc.date.accessioned | 2024-01-23T09:15:16Z | - |
dc.date.available | 2024-01-23T09:15:16Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19311 | - |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา), 2566 | en_US |
dc.description.abstract | The purpose of this research were to 1) develop the massive open online course integrating with Podcasts on nursing care patients with arrhythmia and electrocardiogram Intervention to Promote Knowledge Construction of Nursing Students, 2) compare the knowledge construction of nursing students before and after studying with MOOC integrating with podcasts ,3 ) compare the learning achievement of nursing students before and after studying with the MOOC integrating with podcasts, 4) study the students’ satisfaction with the MOOC integrating with podcasts. The research instruments consisted of 1) a massive open online course integrating with podcasts on nursing care patients with arrhythmia and electrocardiogram Intervention, 2) the knowledge construction inventory, 3) the nursing students’ satisfaction with the MOOC scale. The findings revealed that: 1) the massive open online course integrating with podcasts on nursing care patients with arrhythmia and electrocardiogram Intervention was the most appropriate level (𝑥̅̅= 4.55, S.D.= 0.48), 2.) 74undergraduate nursing students for the nursing students’ knowledge construction was significantly higher in in the posttest than in the pretest at .01 level 3.) 208 undergraduate nursing students here significantly higher learning achievement of the nursing students in the posttest than in the pretest at .01 level, and 4) 133 undergraduate nursing students studying the students’ satisfaction with the MOOC integrating with podcasts. Was ranked at a high level (𝑥̅ = 4.17, S.D. = 0.83). | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การศึกษาออนไลน์ระบบเปิดสำหรับมหาชน | en_US |
dc.subject | พอดแคสต์ | en_US |
dc.subject | การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะและการอ่านผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจ | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมการสร้างความรู้ | en_US |
dc.title | การพัฒนาการศึกษาออนไลน์ระบบเปิดสำหรับมหาชนที่บูรณาการพอแคสต์เรื่องการพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะและการอ่านผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการสร้างความรู้ของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต | en_US |
dc.title.alternative | Development of Massive Open Online Course integrating with Podcasts on Nursing care Patients with Arrhythmia and Electrocardiogram Intervention to Promote Knowledge Construction of Nursing Students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Education (Educational Technology) | - |
dc.contributor.department | คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1 ) พัฒนาการพัฒนาการศึกษาออนไลน์ระบบเปิด สำหรับมหาชนที่บูรณาการพอดแคสต์เรื่อง การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะและการอ่าน ผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการสร้างความรู้ของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต 2 ) ศึกษาพฤติกรรมการสร้างความรู้ของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต 3 ) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนรู้ก่อนและหลังเรียน 4 ) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตต่อการศึกษา ออนไลน์ระบบเปิดสำหรับมหาชนที่บูรณาการพอดแคสต์โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 3 คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ที่มีความ ยินดีให้ความร่วมมือในการวิจัย โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วย 1) แบบทดสอบ เรื่อง การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะและการอ่านผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 2 ) แบบวัดพฤติกรรมการ สร้างความรู้ และ 3 ) แบบประเมินความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่า 1 ) ตัวการศึกษาออนไลน์ระบบเปิดสำหรับมหาชนที่บูรณาการ พอดแคสต์เรื่อง การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะและการอ่านผลคลื่นไฟฟ้า มีระดับความ เหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (𝑥̅ =4.55, S.D.=.48) 3) จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 208 คน มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ก่อนและหลังเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 74 คน มีพฤติกรรมการสร้างความรู้เฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่าง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 4) จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 133 คน มีความพึงพอใจ อยู่ ในระดับพึงพอใจมาก (𝑥̅ = 4.17 , S.D. = 0.83). | en_US |
Appears in Collections: | 263 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6320121501.pdf | 3.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License