Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19287
Title: บรรยากาศการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พันธะสัญญาทางใจในงานและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Other Titles: HRD Climate, HRDC, Work Engagement, Organizational Citizenship Behavior of supporting staffs, Prince of Songkla university
Authors: นฤบาล ยมะคุปต์
Office of President
สำนักงานอธิการบดี
Keywords: ทรัพยากรมนุษย์;การพัฒนาบุคลากร
Issue Date: 2564
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: This institute research study the effect of human resource development climate (HRDC) and work engagement toward organizational citizenship behavior in the context of supporting staffs of Prince of Songkla university. It is a quantitative research study using both offline and online questionnaires. A total of 370 subjects was derived using Krejcie and Morgan's sample size formula. The data analysis is based on Partial Least Square Structural Equation Modeling (PLS-SEM). The results demonstrated moderate level of human resource development climate and high level of work engagement and organizational citizenship behavior perceived by supporting staffs. Human resource development climate and work engagement influenced the organizational citizenship behavior with an explanation power of 30.90% (Coefficient of Determination: R2 =.309), that is, at a 99% confidence level, human resource development climate influenced the organizational citizenship behavior (B= .389, t=12.075, p=.000) and work engagement influenced the organizational citizenship behavior (B= .209,t=4.509, p=.000).
Abstract(Thai): งานวิจัยสถาบันชิ้นนี้ ศึกษาอิทธิพลของบรรยากาศของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และพันธะสัญญาทางใจในงานที่ มีต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การ ของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมีแบบแผนการวิจัย คือ การวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้การเก็บแบบสอบถามในรูปแบบออนไลน์ จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรสายสนับสนุนของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยตาราง Krejcie and Morgan (1970) ได้จํานวนกลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมด 370 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างกําลังสองน้อยที่สุดบางส่วนโดยการวิเคราะห์ โมเดลการวัดและการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่า บุคลากรสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์รับรู้ระดับของบรรยากาศของการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ในระดับปานกลาง และมีระดับพันธะสัญญาทางใจในงาน ระดับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การ อยู่ ในระดับมาก ค่าสัมประสิทธิ์การทํานายของโมเดลสมการโครงสร้าง เท่ากับ 30.9 กล่าวคือ บรรยากาศของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และพันธะสัญญาทางใจในงานอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การของ บุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ร้อยละ 30.90 และเมื่อใช้การคํานวณค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพล ผลการ วิเคราะห์ พบว่า ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 บรรยากาศของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ ดีต่อองค์การ (B= 389, t=12.075, p,000) และ พันธะสัญญาทางใจในงานที่มีต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การ (B= .209,t=4.509, p=,000)
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19287
Appears in Collections:PA01 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.