กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19246
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอริยา คูหา-
dc.contributor.authorอัสม้า จะปะเกีย-
dc.date.accessioned2023-12-20T08:03:00Z-
dc.date.available2023-12-20T08:03:00Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19246-
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยา), 2566en_US
dc.description.abstractThe objectives of this research aim to 1) study positive psychology of orphans who participated in cognitive behavioral Group therapy integrating Islamic principle program 2) compare positive psychological capital of orphans who participated in pre-experimental program, post-trial, and follow-up period. 10 femalesof orphans from Muslim Pattanasart School with 13-15 years. Participated in the second semester in 2021, having low to moderate positive psychological capital and voluntarily to the program. Tool used were 1) 10 sessions of cognitive behavior group therapy with 90 minutes and 2) Positive psychological capital assessment with the reliability of .96 Data were analyzed using statistics, Percentages, Mean, and Standard Deviation and Wilcoxon Signed Rank test The results showed as follow: Positive psychological capital of the orphans who took part in the cognitive behavior group therapy were different that the post-trial was higher than the preexperimental period at the statistically significant at 0.1. Positive psychological capital of the orphans who took part in the cognitive behavior group therapy were different that the follow-up was higher than the post-trial period at the statistically significant at 0.5.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectกลุ่มจิตบำบัดการรู้คิดพฤติกรรมen_US
dc.subjectบูรณาการหลักอิสลามen_US
dc.subjectทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกen_US
dc.subjectเด็กกำพร้าen_US
dc.subjectCognitive behavior Group Therapyen_US
dc.subjectIslamic principleen_US
dc.subjectPositive Psychological Capitalen_US
dc.subjectOrphanen_US
dc.titleผลของกลุ่มจิตบำบัดการรู้คิดพฤติกรรมบูรณาการหลักอิสลาม เพื่อพัฒนาทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกในเด็กกำพร้าen_US
dc.title.alternativeEffects of Cognitive Behavior Group Therapy Integrating Islamic Principle to Enhance Positive Psychological Capital of Orphanen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Education (Psychology and Counseling)-
dc.contributor.departmentคณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว-
dc.description.abstract-thการศึกษาผลของกลุ่มจิตบำบัดการรู้คิดพฤติกรรมบูรณาการหลักอิสลาม เพื่อพัฒนา ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกในเด็กกำพร้าครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของ เด็กกำพร้าที่ได้เข้าร่วมกลุ่มจิตบำบัดการรู้คิดพฤติกรรมบูรณาการหลักอิสลาม 2) เปรียบเทียบทุนทาง จิตวิทยาเชิงบวกของเด็กกำพร้าที่ได้เข้าร่วมกลุ่มจิตบำบัดการรู้คิดพฤติกรรมบูรณาการหลักอิสลาม ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ เด็กกำพร้าหญิง ที่ มีอายุระหว่าง 13-15 ปีกำลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียน มุสลิมพัฒนศาสตร์จังหวัดปัตตานีจำนวน 10 คน มีระดับคะแนนทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกในระดับต่ำ ถึงระดับปานกลาง มีความสมัครใจและยินยอมในการเข้าร่วมโปรแกรมฯ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้ง นี้ คือ กลุ่มจิตบำบัดการรู้คิดพฤติกรรมบูรณาการหลักอิสลาม จำนวน 10 ครั้ง ครั้งละ 90 นาที วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Wilcoxon Signed Rank test ผลการวิจัย พบว่า ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของเด็กกำพร้าที่เข้าร่วมกลุ่มจิตบำบัดการรู้คิดพฤติกรรม บูรณาการหลักอิสลามแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยระยะหลังการทดลองสูง กว่าระยะก่อนการทดลอง ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของเด็กกำพร้าที่เข้าร่วมกลุ่มจิตบำบัดการรู้คิดพฤติกรรม บูรณาการหลักการอิสลามแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยระยะติดตามผลสูง กว่าระยะหลังการทดลองen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:286 Thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
6120121005.pdf4.56 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons