Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19244
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริวรรณ รวมแก้ว-
dc.contributor.authorทิฆัมพร ทิพย์รองพล-
dc.date.accessioned2023-12-20T07:52:55Z-
dc.date.available2023-12-20T07:52:55Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19244-
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดล้อม), 2566en_US
dc.description.abstractThe objective of this study was to assess the effectiveness of remote sensing techniques for coral reef classifications at Kradan Island, Trang province and Ngai Island, Krabi province. The Landsat 8 OLI image of 2018 was preprocessed with radiometric correction, atmospheric correction, and water column correction. Coral reefs were classified using three classification methods included Maximum Likelihood Classification (MLC), Minimum Distance Classification (MDC) and Mahalanobis Distance Classification (MHC) to compare the accuracy of coral reefs classification from remote sensing. Coral reefs were divided into four classes including live coral, dead coral, sand, and sea. The classified images were validated with ground control points obtained from field survey. The results showed that three classification methods could be able to classify the components and the extent of coral reefs. In kradan island, the overall accuracy and kappa coefficients of the MLC, MDC and MHC were 72.73% (0.64), 63.64% (0.51), and 72.73% (0.64), respectively. For the accuracy of coral reef classifies in Ngai Island was found that the MLC, MDC and MHC method have the overall accuracy and kappa coefficients were 65.22% (0.55), 52.17% (0.38), and 65.22% (0.55), respectively. Thus, the MLC and MHD were the most accurate for coral reefs classification.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectแนวปะการังen_US
dc.subjectดาวเทียม Landsat 8 OLIen_US
dc.subjectวิธีการจำแนกแบบความน่าจะเป็นสูงสุดen_US
dc.subjectวิธีการจำแนกแบบระยะห่างต่ำสุดen_US
dc.subjectวิธีการจำแนกแบบระยะห่างมาฮาลาโนบิสen_US
dc.subjectการรับรู้จากระยะไกลen_US
dc.titleการประยุกต์ใช้ข้อมูลการรับรู้จากระยะไกลในการจำแนกแนวปะการัง : กรณีศึกษา เกาะกระดาน จังหวัดตรัง และเกาะไหง จังหวัดกระบี่en_US
dc.title.alternativeThe Application of Remote Sensing for Coral Reef Classification : A Case Study of Kradan Island, Trang Province and Ngai Island Krabi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Technology and Environment-
dc.contributor.departmentคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม-
dc.description.abstract-thวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อประเมินประสิทธิภาพของเทคนิคการรับรู้จากระยะไกลในสำหรับการจำแนกแนวปะการังบริเวณเกาะกระดาน จังหวัดตรัง และเกาะไหง จังหวัดกระบี่ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat 8 OLI ปี พ.ศ. 2561 ถูกนำมาประมวลผลภาพเบื้องต้นด้วยการปรับแก้ความคลาดเคลื่อนเชิงรังสี ความคลาดเคลื่อนเชิงบรรยากาศ และความคลาดเคลื่อนจากมวลน้ำ แนวปะการังจำแนกโดยด้วยวิธีการจำแนกข้อมูลภาพ 3 วิธี ประกอบด้วย วิธีการจำแนกแบบความน่าจะเป็นสูงสุด (MLC) การจำแนกแบบระยะห่างต่ำสุด (MDC) และการจำแนกแบบระยะห่างมาฮาลาโนบิส (MHC) เพื่อเปรียบเทียบความถูกต้องของการจำแนกแนวปะการังจากการรับรู้จากระยะไกล โดยแบ่งประเภทแนวปะการังออกเป็น 4 ประเภท ประกอบด้วย ปะการังมีชีวิต ปะการังไม่มีชีวิต ทราย และน้ำทะเล ข้อมูลภาพจากการจำแนกถูกตรวจสอบความถูกต้องด้วยจุดควบคุมภาคพื้นดินจากการสำรวจภาคสนาม ผลการศึกษาพบว่า วิธีการจำแนกข้อมูลทั้ง 3 วิธี สามารถจำแนกองค์ประกอบและขอบเขตของแนวปะการัง โดยเกาะกระดานความถูกต้องโดยรวมและค่าสัมประสิทธิ์แคปปาของวิธี MLC MDC และ MHC มีค่าเท่ากับร้อยละ 72.7 (0.64) 63.64 (0.51) และ 72.73 (0.64) ตามลำดับ สำหรับความถูกต้องของผลการจำแนกแนวปะการังเกาะไหง พบว่า วิธี MLC MDC และ MHC มีค่าความถูกต้องโดยรวมและค่าสัมประสิทธิ์แคปปาร้อยละ 65.22 (0.55) 52.17 (0.38) และ 65.22 (0.55) ตามลำดับ ดังนั้น วิธี MLC และ MHC ให้ความถูกต้องสูงสุดสำหรับการจำแนกแนวปะการังวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อประเมินประสิทธิภาพของเทคนิคการรับรู้จากระยะไกลในสำหรับการจำแนกแนวปะการังบริเวณเกาะกระดาน จังหวัดตรัง และเกาะไหง จังหวัดกระบี่ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat 8 OLI ปี พ.ศ. 2561 ถูกนำมาประมวลผลภาพเบื้องต้นด้วยการปรับแก้ความคลาดเคลื่อนเชิงรังสี ความคลาดเคลื่อนเชิงบรรยากาศ และความคลาดเคลื่อนจากมวลน้ำ แนวปะการังจำแนกโดยด้วยวิธีการจำแนกข้อมูลภาพ 3 วิธี ประกอบด้วย วิธีการจำแนกแบบความน่าจะเป็นสูงสุด (MLC) การจำแนกแบบระยะห่างต่ำสุด (MDC) และการจำแนกแบบระยะห่างมาฮาลาโนบิส (MHC) เพื่อเปรียบเทียบความถูกต้องของการจำแนกแนวปะการังจากการรับรู้จากระยะไกล โดยแบ่งประเภทแนวปะการังออกเป็น 4 ประเภท ประกอบด้วย ปะการังมีชีวิต ปะการังไม่มีชีวิต ทราย และน้ำทะเล ข้อมูลภาพจากการจำแนกถูกตรวจสอบความถูกต้องด้วยจุดควบคุมภาคพื้นดินจากการสำรวจภาคสนาม ผลการศึกษาพบว่า วิธีการจำแนกข้อมูลทั้ง 3 วิธี สามารถจำแนกองค์ประกอบและขอบเขตของแนวปะการัง โดยเกาะกระดานความถูกต้องโดยรวมและค่าสัมประสิทธิ์แคปปาของวิธี MLC MDC และ MHC มีค่าเท่ากับร้อยละ 72.7 (0.64) 63.64 (0.51) และ 72.73 (0.64) ตามลำดับ สำหรับความถูกต้องของผลการจำแนกแนวปะการังเกาะไหง พบว่า วิธี MLC MDC และ MHC มีค่าความถูกต้องโดยรวมและค่าสัมประสิทธิ์แคปปาร้อยละ 65.22 (0.55) 52.17 (0.38) และ 65.22 (0.55) ตามลำดับ ดังนั้น วิธี MLC และ MHC ให้ความถูกต้องสูงสุดสำหรับการจำแนกแนวปะการังen_US
Appears in Collections:978 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6030221003.pdf7.68 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons