Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19224
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | คมสันต์ วงค์วรรณ์ | - |
dc.contributor.author | จักรวิดา เหล็กนิ่ม | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-19T09:28:23Z | - |
dc.date.available | 2023-12-19T09:28:23Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19224 | - |
dc.description | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พัฒนามนุษย์และสังคม), 2566 | en_US |
dc.description.abstract | The objectives of this research and development study were to 1) study the history of the folk songs for the Nang-Talung music, 2) develop the folk songs for the Nang-Talung music into the piano music, 3) find the efficiency of the piano music of Patcha and Lakuduwor songs, and 4) study the results of the piano practice with Patcha and Lakuduwor songs. The study contained two phases. The first phase was the qualitative study of in-depth interviews with key informants, and the data was analyzed by the content analysis. The second phase was the quantitative study of 12 target participants selected by the purposive sampling method, and the data was analyzed by the analysis of variance with Repeated Measures Designs and One-Way ANOVA. The study disclosed the results as follows. 1. Most of the folk songs for the Nang-Talung music were the songs from the central region which pipers were familiar with and brought to play for the Nang-Talung music; and for the Nang-Talung music of “Wayungkulei”, the Malay music from Rong Ngeng Dance songs was used. 2. The folk songs for the Nang-Talung music were arranged for 12 piano music songs: Patcha, Hoomroong 1 (Samniengmon), Kuenpi (Bogrueng), Laoduangduan, Kaekmonbangkhunphrom, Rateepradabdao, Khmerlorong, Kubmaibantaw, Komwan, Loykrathong, Kluaimai, and Lakuduwor. 3. The piano music of Patcha and Lakuduwor songs was effective at 71.10/76.90 which was above the threshold. 4. The effects of practicing Patcha and Lakuduwor songs on concentration, memory skill, performance skills, and attention to music learning and practicing were significantly different at .05, .01, and .01 respectively. The piano music from the folk songs for the Nang-Talung music was valuable for innovation and literature. It was recorded by the Sibelius software and published as an e-book. | en_US |
dc.description.sponsorship | ทุนอุดหนุนการทำวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์ ปีงบประมาณ 2560 จากบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | Folk Songs for the Nang-Talung Music | en_US |
dc.subject | Piano Music | en_US |
dc.subject | Concentration | en_US |
dc.subject | Memory Skills | en_US |
dc.subject | Performance Skills | en_US |
dc.subject | Attention to Music Learning and Practicing | en_US |
dc.subject | บทเพลงพื้นบ้านดนตรีหนังตะลุง | en_US |
dc.subject | บทเพลงเปียโน | en_US |
dc.subject | สมาธิ | en_US |
dc.subject | ทักษะการจำ | en_US |
dc.subject | ทักษะการบรรเลง | en_US |
dc.subject | ความสนใจในการเรียนและฝึกดนตรี | en_US |
dc.title | ผลของบทเพลงพื้นบ้านดนตรีหนังตะลุงที่บรรเลงด้วยเปียโนที่มีต่อสมาธิ ความจำ และความสนใจของเด็ก | en_US |
dc.title.alternative | The Effect of Traditional Songs, Nang-Talung Music Playing by Piano on Concentration, Memory and Attention of Children | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Liberal Arts (Educational Foundation) | - |
dc.contributor.department | คณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาสารัตถศึกษา | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยและพัฒนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประวัติความเป็นมาของบทเพลงพื้นบ้านดนตรีหนังตะลุง 2) พัฒนาบทเพลงพื้นบ้านดนตรีหนังตะลุงเป็นบทเพลงเปียโน 3) หาประสิทธิภาพของบทเพลงเปียโนเพลงพัดชาและเพลงลาฆูดูวอ และ 4) ศึกษาผลการฝึกเปียโนด้วยบทเพลงพัดชาและเพลงลาฆูดูวอ ซึ่งการวิจัยนี้แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา และระยะที่ 2 เป็นวิจัยเชิงปริมาณ ศึกษากับกลุ่มเป้าหมายจำนวน 12 คน ใช้วิธีคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนด้วยเทคนิค Repeated Measures Designs และ One-Way ANOVA ผลการวิจัย พบว่า 1. บทเพลงพื้นบ้านดนตรีหนังตะลุงส่วนใหญ่เป็นเพลงจากภาคกลาง ซึ่งนายปี่รู้จักจึงนำมาบรรเลงกับหนังตะลุง และเพลงหนังตะลุง “วายังกูเละ” ใช้ดนตรีมลายูจากเพลงการแสดงรองเง็ง 2. บทเพลงพื้นบ้านดนตรีหนังตะลุงนำมาเรียบเรียงเป็นบทเพลงเปียโนได้ 12 เพลง คือ เพลงพัดชา เพลงโหมโรง 1 (สำเนียงมอญ) เพลงขึ้นปี่ (บอกเรื่อง) เพลงลาวดวงเดือน เพลงคำหวาน เพลงแขกมอญบางขุนพรม เพลงราตรีประดับดาว เพลงเขมรลออองค์ เพลงขับไม้บัณเฑาะว์ เพลงลอยกระทง เพลงกล้วยไม้ และเพลงลาฆูดูวอ 3. บทเพลงเปียโนเพลงพัดชาและเพลงลาฆูดูวอ มีประสิทธิภาพ 71.10/76.90 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 4. ผลของการฝึกเพลงพัดชาและเพลงลาฆูดูวอที่มีต่อสมาธิ ทักษะการจำ ทักษะการบรรเลง และความสนใจในการเรียนและฝึกดนตรี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 .01 และ .01 ตามลำดับ บทเพลงเปียโนจากเพลงพื้นบ้านดนตรีหนังตะลุงมีคุณค่าในแง่ของนวัตกรรมและวรรณกรรม ได้บันทึกในรูปแบบบทเพลงเปียด้วยโปรแกรม Sibelius และเผยแพร่เป็นหนังสือ E-book | en_US |
Appears in Collections: | 895 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5811130008.pdf | 16.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License