Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19204
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บัญชา สมบูรณ์สุข | - |
dc.contributor.author | พลอยไพลิน ตันติวิชช์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-19T04:19:52Z | - |
dc.date.available | 2023-12-19T04:19:52Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19204 | - |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาการเกษตร), 2566 | en_US |
dc.description.abstract | This study aimed to study the aspect of production management, the usage of inputs, problems and obstacles in soybean produce for agriculturists in Chiang Mai. The study also includes technical efficiency and finding factors that affect it. The data was collected from the interview of 100 agriculturists in 4 districts in Chiang Mai, then analyzed using Stochastic Production Frontier method. By using Cobb-Douglas with Copula function. The result was found that the main decision makers had an average soybean growing experience of 16. The majority of agriculturists use Chiang Mai 60 seeds for the plantation. The average soybean planting area is 6.33 rai. 56 percent of the agriculturists rent the land while 44 percent have their own land. The soybean planting area was in the irrigated area (58%). It was found that the average seed consumption was 16.68 kg/rai, the average labor used in soybean cultivation was 17.53 people/rai, and the average fertilizer consumption was 17.53 people/rai. 24.51 kg/rai, the average pesticide use was 0.26 liters/rai. The average product of soybean plantation is 310.13 kg. per rai, which equals to the income from the plantation of 5,876.96 baht per rai. The average cost is 7,290 baht per rai. Therefore, the net income over total cost equal -1,413.04 baht per rai. According to the analysis of technical efficiency of soybean production it was found that the level of technical efficiency of soybean production has the average at 0.77 which indicates that soybean production of the agriculturists is in medium level. The factors that can help increase the produce are, the number of labors in the process, the expense for fertilizers, and the amount of soybean seeds that are used in the production. The factors that affect lack of soybean technical efficiency are land ownership, experience in plantation, and the size of the plantation area. From the study, the agriculturists can use the result to plan the guidelines for increasing soybean technical efficiency and manage the problem in soybean production for the produce to have more quality. Moreover, agents or organizations that are related to this field can use the result to plan their operation plan in the next step. | en_US |
dc.description.sponsorship | ทุนวิจัยจากวิทยาลัยบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทุนวิจัยจากวิทยาลัยบัณฑิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โครงการ Participatory and Integrative Support for Agricultural Initiative (PISAI) Project ภายใต้การสนับสนุนจาก ERASMUS +-Capacity Building in Higher Education Programme | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | ประสิทธิภาพทางเทคนิค | en_US |
dc.subject | คอปปูลา | en_US |
dc.subject | ถั่วเหลือง | en_US |
dc.subject | จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ประสิทธิภาพทางเทคนิคการผลิตถั่วเหลืองในจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Technical Efficiency of Soybean Production in Chiang Mai Province. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Natural Resources (Agricultural Development) | - |
dc.contributor.department | คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพัฒนาการเกษตร | - |
dc.description.abstract-th | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการจัดการการผลิต การใช้ปัจจัยการผลิต ปัญหาและอุปสรรคในการผลิตถั่วเหลืองของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่ ตลอดจนวิเคราะห์ประสิทธิภาพทางเทคนิค และหาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพทางเทคนิคการผลิตถั่วเหลืองของเกษตรกร โดยใช้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เกษตรกรจาก 4 อำเภอในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 100 ราย และวิเคราะห์ด้วยวิธี Stochastic Production Frontier ในรูปแบบฟังก์ชัน Cobb-Douglas with Copula ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรผู้ตัดสินใจหลักมีประสบการณ์ในการปลูกถั่วเหลืองเฉลี่ยอยู่ที่ 16 ปี ส่วนใหญ่เลือกใช้เมล็ดพันธุ์เชียงใหม่ 60 มีพื้นที่เพาะปลูกถั่วเหลืองเฉลี่ยเท่ากับ 6.33 ไร่ โดยร้อยละ 56 เช่าที่ดิน ร้อยละ 44 มีที่ดินของตัวเอง พื้นที่ที่ทำการเพาะปลูกถั่วเหลืองอยู่ในเขตชลประทาน (ร้อยละ 58) สำหรับลักษณะการเพาะปลูกถั่วเหลืองของเกษตรกรตัวอย่าง พบว่า มีการใช้เมล็ดพันธุ์ในการเพาะปลูกเฉลี่ย 16.68 กิโลกรัม/ไร่ ใช้แรงงานในกิจกรรมการเพาะปลูก ถั่วเหลืองในทุกกิจกรรมเฉลี่ยเท่ากับ 17.53 คน/ไร่ ใช้ปุ๋ยเฉลี่ยเท่ากับ 24.51 กิโลกรัม/ไร่ ใช้สารกำจัดศัตรูพืชเฉลี่ยเท่ากับ 0.26 ลิตร/ไร่ ผลผลิตถั่วเหลืองโดยเฉลี่ยเท่ากับ 310.13 กิโลกรัม/ไร่ คิดเป็นต้นทุนรวมเฉลี่ยเท่ากับ 7,290 บาท/ไร่ รายได้จากการเพาะปลูกถั่วเหลืองทั้งหมดเท่ากับ 8,876.96 บาท/ไร่ คิดเป็นรายได้สุทธิเหนือต้นทุนทั้งหมดเฉลี่ยเท่ากับ -1,413.04 บาท/ไร่ การวิเคราะห์ประสิทธิภาพทางเทคนิคการผลิตถั่วเหลืองของเกษตรกร พบว่า ระดับประสิทธิภาพทางเทคนิคการผลิตถั่วเหลือง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.77 แสดงให้เห็นว่า การผลิตถั่วเหลืองของเกษตรกรตัวอย่างโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยปัจจัยการผลิตที่ช่วยเพิ่มผลผลิต ได้แก่ จำนวนแรงงานคนที่ใช้ในการผลิตถั่วเหลือง ค่าใช้จ่ายในการใช้ปุ๋ย และปริมาณเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง ที่ใช้ในการผลิต สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อความไม่มีประสิทธิภาพทางเทคนิคการผลิตถั่วเหลือง ได้แก่ กรรมสิทธิ์ในที่ดิน ประสบการณ์ในการเพาะปลูก และขนาดพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมดของเกษตรกร จากการศึกษานี้เกษตรกรสามารถนำผลที่ได้มาวางแผนเพื่อหาแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพทางเทคนิคการผลิตถั่วเหลืองและการจัดการปัญหาของการผลิตถั่วเหลืองให้ได้ผลผลิตถั่วเหลืองให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้หน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถนำผลที่ได้ไปเป็นแนวทางในการวางแผนการดำเนินงานต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | 520 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6310620004..pdf | 1.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License