กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19189
ชื่อเรื่อง: | Statistical Modeling for Riverbank Erosion |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | แบบจำลองทางสถิติสำหรับการกัดเซาะตลิ่งแม่น้ำ |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | Somporn Chuai-Aree Marushme Awang Faculty of Science and Technology (Mathematics and Computer Science) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ |
คำสำคัญ: | Erosion;Latitude and Longitude;Sattelite image;Lineare regression;Deposition |
วันที่เผยแพร่: | 2022 |
สำนักพิมพ์: | Prince of Songkla University |
บทคัดย่อ: | River erosion is a critical process that cause a lot of terrain changes and affects people who live on the river or live nearby the river areas. This study analyzed the erosion pattern of Thepha river in years 2003, 2011, 2015, 2017 and 2018. The data obtained from satellite images in Google Earth covering latitude 6.824138o-6.827198o N and longitude 100.972019o-100.973211o E of 570 points along each bank. Cubic spline model was used to fit the change of each year compared to 2003 for left and right bank. The results show that there is movement of river bank line to west. |
Abstract(Thai): | การกัดเซาะตลิ่งของแม่น้ำเป็นภัยธรรมชาติต่อผู้ที่อาศัยอยู่บริเวณตลิ่งของแม่น้ำ การแตกตัวของตลิ่งแม่น้ำเกิดขึ้นจากการไหลของน้ำในแม่น้ำเกิดการพัดพาตะกอน มีการกัดเซาะพื้นที่หนึ่งไปทับถมอีกพื้นที่หนึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแม่น้ำ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการกัดเซาะของแม่น้ำเทพา ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ใช้ข้อมูลที่แปลงภาพถ่ายดาวเทียมจาก Google Earth เป็นข้อมูลเชิงตัวเลข ของ ปี 2003 2011 2015 2017 และ 2018 โดยวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของแต่ละปีเทียบกับปี 2003 ใช้ตัวแบบ Cubic Spline วิเคราะห์รูปแบบการเปลี่ยนแปลงของแม่น้ำพบว่า มีการเปลี่ยนแปลงของแม่น้ำโดยที่มีการขยับของตลิ่งทั้งทางซ้ายและขวาไปทางทิศตะวันตกอย่างสม่ำเสมอจากปี 2003 ถึงปี 2018 แสดงว่ามีการกัดเซาะตลิ่งแม่น้ำทางด้านซ้ายสำหรับตลิ่งฝั่งขวามีการทับถมตะกอน อาจเกิดจากสาเหตุการพัดพาตะกอนจากพื้นที่หนึ่งไปทับถมอีกพื้นที่หนึ่ง |
รายละเอียด: | Master of Science (Research Methodology), 2022 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19189 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | 746 Thesis |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
602032008.pdf | Marushme Awang's Thesis | 2.18 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License