Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19187
Title: การพัฒนารูปแบบเชิงนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 ตามแนวคิด Connectivism สำหรับการเรียนระดับมัธยมศึกษา
Other Titles: Development of Innovative Model in Science Learning for 21st Century based on Connectivism in Secondary Education
Authors: วสันต์ อติศัพท์
พรรณพิไล เกษีสม
Faculty of Education (Educational Technology)
คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
Keywords: การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์;แนวคิด Connectivism;ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
Issue Date: 2022
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: The purposes of this research were: (1) to develop an innovative model in science for 21st century based on connectivism in secondary education, (2) to try out innovative model in science for 21st century based on connectivism in secondary education, and (3) to confirm innovative model in science for 21st century based on connectivism in secondary education to enhance science compretency and 21st Century learning skill of secondary students. The subjects in model development consisted of five experts including curriculum and instruction experts, educational technology experts, educational evaluation experts and teaching science experts. The subjects in system experiment are 34 students from Lamthabprachanukrao who studied in tenth grade. The research instruments consisted of questionaire, an expert interview form, a model evaluation form, and a lesson plan. The data gathering instruments consisted of science compretency test, 21st Century learning skill scale and a 21st Century learning skill scoring rubric. The data were analyzed by using mean, standard deviation and t-test dependent. The research results indicated that: The developed model consisted of 4 components as follows: (1) Project based Learning, (2) Digital learning platform, (3) Learning environment, and (4) Evaluation. Steps of model in science for 21st century consisted of 5steps as follows: (1) Define, (2) Connect Node, (3) Create and Construct, (4) Share and (5) Publish. The experimental results indicated that the subjects had science compretency post-test mean scores higher than pre-test mean scores at .01 level of significance and had excellent level for 21st Century learning skill.
Abstract(Thai): การวิจยัในคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบเชิงนวัตกรรมเพื่อการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 ตามแนวคิด Connectivism ส าหรับการเรียนระดับมัธยมศึกษา 2) ศึกษาผลของการใช้รูปแบบเชิงนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 ตามแนวคิด Connectivism ส าหรับการเรียนระดับมัธยมศึกษา และ 3) รับรองรูปแบบเชิงนวัตกรรมเพื่อการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 ตามแนวคิด Connectivism ส าหรับการเรียนระดับมัธยมศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาความคิดเห็นและสภาพการใช้สมรรถนะของครูเพื่อสร้างบริบทที่เอ้ือ ต่อการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนคือ ครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดกระบี่จ านวน 120 คน ตัวอย่างที่ใช้ในการ สัมภาษณ์ความคิดเห็นและรับรองรูปแบบ คือ ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 5 ท่าน ได้แก่ผูเ้ชี่ยวชาญดา้นหลักสูตร ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและ ประเมินผล และผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการทดลอง คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จ านวน 34คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่แบบสอบถามความ คิดเห็น แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ แบบประเมินรับรองร่างรูปแบบเชิงนวัตกรรมฯ แผนการจัดการ เรียนรู้ แบบบันทึกการสะท้อนการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ไดแ้ก่แบบวัด สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ แบบประเมินผลตามสภาพจริงการใช้ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 แบบรูบริค เกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจริงการใช้ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 แบบรูบริค วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบเชิงนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 ตามแนวคิด Connectivism ส าหรับการเรียนระดับมัธยมศึกษาที่พฒั นาข้ึน มี4องค์ประกอบ คือ 1) การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นส าคัญโดยใช้โครงงานเป็ นฐาน 2) แพลตฟอร์มการเรียนรู้ ดิจิทัล3) สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้และ4) การประเมินผลโดยมี 5ข้นั ตอน ไดแ้ก่ (1) ข้นัศึกษา หัวข้อที่สนใจ (2) เชื่อมโยงความคิด (3) ข้นัการสร้างสรรค์node (4) ข้นัแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ (5) ข้นั เผยแพร่ผลการทดลองใช้รูปแบบเชิงนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 ตาม แนวคิด Connectivism ส าหรับการเรี ยนระดับมัธยมศึกษา พบว่า คะแนนเฉลี่ยสมรรถนะทาง วิทยาศาสตร์หลงัทดลองของกลุ่มทดลองสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 และผลการประเมินการใช้ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของกลุ่มทดลองอยู่ใน ระดับดีเยี่ยม
Description: ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ภาวะผู้นำและนวัตกรรมทางการศึกษา), 2565
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19187
Appears in Collections:263 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5820130107.pdf3.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons