Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19182
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุทิศ สังขรัตน์-
dc.contributor.authorใหม่ ปุยพรม-
dc.date.accessioned2023-12-18T06:58:42Z-
dc.date.available2023-12-18T06:58:42Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19182-
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนามนุษย์และสังคม), 2565en_US
dc.description.abstractThis research study the relationship between quality of life at work and corporate commitment of Provincial Public Health Office personnel in the three southern border provinces Yala Pattani Narathiwat with the purpose of research, research objectives 1) To study the quality of working life of provincial public health office personnel in the three southern border provinces 2)To study the organizational commitment of provincial public health office personnel in the three southern border provinces. 3) To study the relationship between quality of work life affecting organizational commitment of provincial public health office personnel in the three southern border provincesUse quantitative data analysis by using a questionnaire (Questionnaire) is a tool for research. Study from the population and samples used in research namely personnel in the three southern border provinces Yala Pattani Narathiwat 219person. Tools used in this research were the questionnaire. To analyze the data used frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson’s coefficient correlation. 1. Quality of working life of provincial public health office personnel in the three southern border provinces Overall, it's at a moderate level. (X ̅=3.50) and (SD=0.140) When considering the details of each aspect It was found that the benefit to society had the highest average. At a high level, there are 4 aspects: benefits to society (X ̅=4.04) and (SD=0.251) personal rights (X ̅=3.91) and (SD=0.307) in terms of working conditions that are safe and that promote health (X ̅=3.90) and (SD=0.297) and on the development of potential and the use of human capabilities (X ̅=3.78)and (SD=0.455) 2 The organizational commitment of the sample was found to be at a high level, that is (X ̅=3.70) and (SD=0.318) Considering each aspect, it was found that the relationship to the body The awareness of the future of the organization is at the high level. (X ̅=4.19) และ (SD=0.431) 3. The relationship between quality of work life and organizational commitment of provincial public health office personnel in the three southern border provinces Yala, Pattani, and Narathiwat Provinces, found that overall quality of working life and organizational commitment of personnel were related. Were statistically significant at the level .01 (r = .198). When considering the overall relationship, the quality of work life was related to the organization's commitment to job satisfaction and willingness to contribute to the organization. Statistically significant at the level .01 (r = .305,.180) and awareness of the future of the organization statistically significant at the level .05 (r =.163) Overall, corporate engagement was related to safe and healthy working conditions. and on the development of potential and the use of individual abilities statistically significant at the level .01 (r = .205,.195) respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectคุณภาพชีวิตในการทำงานen_US
dc.subjectความผูกพันต่อองค์กรen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กร ของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้en_US
dc.title.alternativeRelationship between Quality of Life at Work and Corporate Commitment of Provincial Public Health Office Personnel In the Three Southern Border Provincesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Liberal Arts (Educational Foundation)-
dc.contributor.departmentคณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาสารัตถศึกษา-
dc.description.abstract-thการวิจัยครั้งนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ ได้แก่ จังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2) เพื่อศึกษาความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการวิจัย เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส จำนวน 219 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัยซึ่งได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ( Pearson’s product moment correlation coefficient) ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X ̅=3.50) และ (SD=0.140) เมื่อพิจารณาถึงรายละเอียดรายด้าน พบว่าด้านความเป็นประโยชน์ต่อสังคมมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด อยู่ในระดับมากมีจำนวน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านความเป็นประโยชน์ต่อสังคม (X ̅=4.04) และ (SD=0.251) ด้านสิทธิส่วนบุคคล (X ̅=3.91) และ (SD=0.307) ด้านสภาพการทำงานที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ (X ̅=3.90) และ (SD=0.297) และด้านการพัฒนาศักยภาพ และการใช้ขีด ความสามารถของบุคคล (X ̅=3.78) และ (SD=0.455) 2. ความผูกพันต่อองค์กรของกลุ่มตัวอย่างพบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมาก กล่าวคือ (X ̅=3.70) และ (SD=0.318) พิจารณาเป็นรายด้านพบว่าความผูกพันต่อองค์ ในเรื่องการตระหนักถึงอนาคตขององค์กรอยู่ในระดับมาก (X ̅=4.19) และ (SD=0.431) 3. ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ ได้แก่ จังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส พบว่าโดยรวมของคุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพัน ต่อองค์กรของบุคลากรมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .198) เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ภาพรวมคุณภาพชีวิตการทำงานมีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์กรด้านความพึงพอใจในงานและการทุ่มเทพยายามให้กับองค์กรอย่างเต็มใจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .305,.180)และการตระหนักถึงอนาคตขององค์กร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .163) และเมื่อพิจารณาโดยรวมความผูกพันต่อองค์กรมีความสัมพันธ์กับด้านสภาพการทำงานที่ปลอดภัย และส่งเสริมสุขภาพ และด้านการพัฒนาศักยภาพและการใช้ขีดความสามารถของบุคคล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .205,.195) ตามลำดับen_US
Appears in Collections:895 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6011121022.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons