Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19181
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรธนะ พิธพรชัยกุล | - |
dc.contributor.author | กุลภัทรา เหล็กเพ็ชร | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-18T06:52:58Z | - |
dc.date.available | 2023-12-18T06:52:58Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19181 | - |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์สุขภาพช่องปาก), 2565 | en_US |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to study the social return on investment of oral health promotion and prevention programs for 0-3 years old children in Khokhcaroen District, Lopburi Province, which was held in the fiscal year 2016-2018. Using research methodology based on social return on investment assessment. The research was divided into two phases. Phase 1 was a qualitative study. It consisted of gathering input from stakeholders through in-depth interviews and group discussions with parents, teachers, dental personnel, early childhood officers, and administrators. This information was used to create an impact map. Phase 2 was a quantitative study. It consisted of using the results to create indicators, data on outcome changes, and financial proxies using a telephone interview form and collecting secondary data on the child's oral health status and expenses for activities. They were then computed to calculate the social return on investment and sensitivity analysis to reduce bias from stakeholders' information. The results showed that this activity used the budget from the National Health Security Office and the subdistrict Administrative Organization in the Khokcharoen District. The current investment value was 192,550.63 baht while the social return was 915,125.63 baht. When analyzing the sensitivity, it was found that the social return on investment was 1.06-4.80 baht. For every 1 baht invested, the social return was 1-5 baht. The benefits of the activities fall on the main target group, 85% of young children, which was consistent with the objectives of the activity. This assessment of the social return on investment enabled cooperative work between the researcher and the stakeholders. It enabled the assessors to review the value of work from a point of view beyond the metric. Together, they created social, economic, and environmental outcomes to assess activities. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | สุขภาพ ทันตกรรม | en_US |
dc.subject | ทันตกรรมในเด็ก | en_US |
dc.title | ผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนของกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กอายุ 0-3 ปี ในอำเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี | en_US |
dc.title.alternative | A Social Return on Investment of oral health promotion and prevention program in 0-3 years old children,Khokchareon district,Lopburi province. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Dentistry | - |
dc.contributor.department | คณะทันตแพทยศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนของกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-3 ปี ในอําเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี ซึ่งจัดขึ้นในปีงบประมาณ 2559-2561 ใช้ระเบียบวิธีวิจัยตามการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน แบ่งการวิจัยเป็น สองระยะ ระยะที่ 1 เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการรวบรวมข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและสนทนากลุ่มกับผู้ปกครอง ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทันตบุคลากร เจ้าหน้าที่ งานปฐมวัย และผู้บริหาร นําข้อมูลที่ได้มาสร้างแผนที่ผลลัพธ์ ระยะที่ 2 เป็นการศึกษาในเชิงปริมาณ ประกอบด้วยการนําผลลัพธ์มาสร้างตัวชี้วัด เก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของผลลัพธ์และค่าแทนทาง การเงินของผลลัพธ์โดยใช้แบบสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิเรื่องสภาวะสุขภาพช่อง ปากของเด็ก และค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรม แล้วนํามาคํานวณผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน และวิเคราะห์ความอ่อนไหวเพื่อลดอคติจากการให้ข้อมูลโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการศึกษาพบว่า กิจกรรมนี้ใช้งบประมาณของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและองค์การบริหารส่วนตําบลใน อําเภอโคกเจริญ มีมูลค่าการลงทุนปัจจุบันเป็นเงิน 192,550.11 บาท ให้ผลตอบแทนทางสังคมเป็นเงิน 915,125.63 บาท เมื่อวิเคราะห์ความอ่อนไหวพบว่าผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนของกิจกรรม อยู่ที่ 1.06-4.80 บาท หมายถึงเงินทุก ๆ 1 บาทที่ลงทุนให้ผลตอบแทนทางสังคมอยู่ที่ 1-5 บาท โดย ผลประโยชน์ของกิจกรรมตกแก่กลุ่มเป้าหมายหลักคือกลุ่มเด็กเล็กร้อยละ 85 ซึ่งสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนครั้งนี้ทําให้เกิดการทํางานแบบมีส่วนร่วมระหว่างผู้วิจัยกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคุณค่าของการทํางานในมุมมองที่นอกเหนือจากตัวชี้วัดเศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมเพื่อใช้ในการประเมินกิจกรรมและทําให้ผู้ร่วมการประเมินได้ทบทวน โดยได้ร่วมกันสร้างผลลัพธ์ในเชิงสังคม | en_US |
Appears in Collections: | 650 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6310820003.pdf | วิทยานิพนธ์ 6310820003 นางสาวกุลภัทรา เหล็กเพ็ชร | 3.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License