Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19173
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิ่น จันจุฬา-
dc.contributor.authorณัฐชา ปัญญาวุฒิ-
dc.date.accessioned2023-12-18T03:45:18Z-
dc.date.available2023-12-18T03:45:18Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19173-
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สัตวศาสตร์), 2565en_US
dc.description.abstractThe objective of this study was to evaluate the effect of fermented discarded-durian peel with lactic acid bacteria (Lactobacillus casei TH14), cellulase and molasses alone or their combination in a total mixed ration on feed utilization, digestibility, ruminal fermentation, and nitrogen utilization in growing crossbred Thai native-Anglo-Nubian goats. Five crossed breed Thai native-Anglo-Nubian goats (50%) at 9 to 12 months of ages and 20±1 of body weight (BW) was assigned to a 5 × 5 Latin square design. Evaluated treatments were fermented discarded-durian peel without additives (FDP), fermented discarded-durian peel with 5% of molasses (FDPM), fermented discarded-durian peel with 2% of cellulase (FDPC), fermented discarded-durian peel with 1.0 × 105 cfu/g fresh matter of L. casei TH14 (FDPL), and fermented discarded-durian peel with 5% of molasses and 1.0 × 105 cfu/g fresh matter of L. casei TH14 (FDPML). This study showed that acid detergent fiber intake was different (P<0.05) between FDP and FDPML, at 0.24 g/d and 0.20 g/d, respectively. FDPML had significantly (P<0.05) greater apparent nutrient digestibility and propionate concentration compared with other treatments. FDPML reduced the acetate to propionate ratio, methane production, and urinary nitrogen significantly (P<0.05). Based on this experiment, treating discarded-durian peel with molasses and L. casei TH14 in combination could add 25% on a dry matter basis into the diet for growing goats without negative impact.en_US
dc.description.sponsorshipศูนย์วิจัยความเป็นเลิศเทคโนโลยีชีวภาพเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ ระยะที่ 3 (CoE-ANRB: phase 3)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectเปลือกทุเรียนหมักen_US
dc.subjectแบคทีเรียกรดแลคติกen_US
dc.subjectเมแทบอไลท์ในกระแสเลือดen_US
dc.subjectแพะen_US
dc.titleผลของเปลือกทุเรียนหมักด้วยแบคทีเรียกรดแลคติกและสารเสริมต่อการย่อยได้ของโภชนะ นิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมน และการใช้ประโยชน์ ของไนโตรเจนในอาหารแพะen_US
dc.title.alternativeEffect of Durian Peel Fermented with Lactic Acid Bacteria and Additives on Nutrient Digestibility, Rumen Ecology and Nitrogen Utilization in Goat Rationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Natural Resources (Animal science)-
dc.contributor.departmentคณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาสัตวศาสตร์-
dc.description.abstract-thการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของเปลือกทุเรียนที่หมักด้วยแบคทีเรียกรดแลคติก (แลคโตบาซิลลัส คาเซอิ TH14) เอนไซม์เซลลูเลส และกากน้ำตาลหรือร่วมกันในอาหารผสมสูตรรวมต่อการใช้ประโยชน์ของอาหาร การย่อยได้ กระบวนการหมักในกระเพาะรูเมน และการใช้ประโยชน์ของไนโตรเจนในแพะลูกผสมพันธุ์พื้นเมือง-แองโกนูเบียน โดยศึกษาในแพะลูกผสมพันธุ์พื้นเมือง-แองโกนูเบียน 50 เปอร์เซ็นต์ เพศผู้ น้ำหนักเฉลี่ย 20.0±1.0 กิโลกรัม ใช้แผนการทดลองแบบ 5×5 ลาตินสแควร์ แพะทุกตัวได้รับอาหารผสมสูตรรวม 5 สูตร ที่มีเปลือกทุเรียนหมักไม่ใส่สารเสริม (กลุ่มควบคุม) เปลือกทุเรียนหมักร่วมกับกากน้ำตาล 5 เปอร์เซ็นต์ เปลือกทุเรียนหมักเอนไซม์เซลลูเลส 2 เปอร์เซ็นต์ เปลือกทุเรียนหมักด้วยแลคโตบาซิลลัส คาเซอิ TH14 1.0 × 105 cfu/g และเปลือกทุเรียนหมักด้วยกากน้ำตาล 5 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับแลคโตบาซิลลัส คาเซอิ TH14 1.0 × 105 cfu/g ผลการทดลอง พบว่า ปริมาณการกินได้ของเยื่อใยที่ไม่ละลายสารฟอกที่เป็นกรดมีความแตกต่างกัน (P<0.05) ระหว่างเปลือกทุเรียนหมักไม่ใส่สารเสริม และเปลือกทุเรียนหมักด้วยกากน้ำตาลร่วมกับแลคโตบาซิลลัส คาเซอิ TH14 เท่ากับ 0.24 กรัมต่อวัน และ 0.20 กรัมต่อวัน ตามลำดับ อาหารกลุ่มที่มีเปลือกทุเรียนหมักด้วยกากน้ำตาลร่วมกับแลคโตบาซิลลัส คาเซอิ TH14 มีสัมประสิทธิ์การย่อยได้ของโภชนะ และค่าความเข้มข้นของกรดโพรพิออนิกดีกว่า (P<0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มอื่น และพบว่าอาหารกลุ่มที่มีเปลือกทุเรียนหมักด้วยกากน้ำตาลร่วมกับแลคโตบาซิลลัส คาเซอิ TH14 สามารถลดสัดส่วนความเข้มข้นของนกรดอะซิติกต่อกรด-โพรพิออนิก การผลิตแก๊สเมทเธนได้ และการขับไนโตรเจนทางปัสสาวะ (P<0.05) ดังนั้นจึงสามารถใช้เปลือกทุเรียนที่หมักด้วยกากน้ำตาลร่วมกับแลคโตบาซิลลัส คาเซอิ TH14 สามารถใช้ได้ระดับ 25 เปอร์เซ็นต์ของวัตถุแห้งในสูตรอาหารสำหรับแพะรุ่นโดยไม่ส่งผลกระทบด้านลบต่อแพะen_US
Appears in Collections:515 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6210620023.pdf2.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons