Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19129
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสเพ็ญ ชูนวล-
dc.contributor.authorสาวิตรี วงค์ประดิษฐ-
dc.date.accessioned2023-12-04T08:37:46Z-
dc.date.available2023-12-04T08:37:46Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19129-
dc.descriptionพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การผดุงครรภ์), 2563en_US
dc.description.abstractThis predictive research aimed to determine the level of depression and predicting factors of depression in pregnant teenagers. The Sample was 298 pregnant teenagers attending the antenatal clinic of Hatyai Hospital, Songkhla Hospital, and community hospitals with a total of 15 hospitals. Instruments for data collection comprised a set of questionnaires including 1) demographic recording form, 2) life events questionnaire, 3) family support questionnaire, 4) marital relationship questionnaire, 5) self-esteem questionnaire, and 6) depression questionnaire. Content of all questionnaires was validated by a panel of 3 experts. The set of questionnaire 3, 4, and 6 had Cronbach alpha reliability coefficient of .91, .86, and .93 respectively. The set of questionnaire 2 and 5 had test-retest reliability of .86 and .82 respectively. Data were analysed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression. Research results revealed that the level of depression in pregnant teenagers was at a moderate level (M = 18.86, SD = 11.17) life events, marital relationship, and self- esteem together could significantly explain 32.9% of the variance of depression in pregnant teenagers (R2 = .329, p < .001). The findings of this research could be used as baseline information for developing an appropriate model to promote depression prevention in pregnant teenagers.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectความซึมเศร้าen_US
dc.subjectครรภ์ในวัยรุ่นen_US
dc.titleปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นen_US
dc.title.alternativeFactors Influencing Depression in Teenage Pregnant Womenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Nursing (Obstetric and Gynaecologic Nursing and Midwifecy)-
dc.contributor.departmentคณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลสูติ-นรีเวชและผดุงครรภ์-
dc.description.abstract-thการวิจัยเชิงทํานาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับภาวะซึมเศร้าในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น และศึกษาปัจจัยทํานายภาวะซึมเศร้าในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างเป็นหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นที่มา รับบริการฝากครรภ์ที่คลินิกฝากครรภ์ โรงพยาบาลศูนย์หาดใหญ่ โรงพยาบาลสงขลา และโรงพยาบาล ชุมชน รวมทั้งหมด 15 โรงพยาบาล จํานวน 298 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถาม 6 ชุด ได้แก่ (1) ข้อมูลส่วนบุคคล (2) แบบสอบถามเหตุการณ์ในชีวิต (3) แบบสอบถามแรงสนับสนุนจากครอบครัว (4) แบบสอบถามสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส (5) แบบสอบ ถามความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง และ (6) แบบวัดภาวะซึมเศร้า ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของ เครื่องมือทั้งหมดโดยผู้ทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ท่าน และทดสอบความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตร สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach's alpha coefficient) ของแบบสอบถามชุดที่ 3, 4, และ 6 ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .91, 86 และ 93 ส่วนแบบสอบถามชุดที่ 2 และ 5 ได้ทดสอบความ เที่ยงของเครื่องมือโดยใช้วิธีทดสอบซ้ํา (test-retest reliability) ได้ค่าความเที่ยง เท่ากับ .86 และ 82 ตามลําดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน วิเคราะห์ปัจจัยทํานายโดยใช้สถิติการถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า ระดับของภาวะซึมเศร้าของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นอยู่ในระดับปานกลาง (M = 18.86, SD = 11.17) เหตุการณ์ในชีวิต สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง สามารถร่วมกันทํานายภาวะซึมเศร้าของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น ได้ร้อยละ 32.9 (R = .329, p < .001) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนําไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการป้องกันภาวะซึมเศร้าที่เหมาะสมในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นen_US
Appears in Collections:648 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
447012.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons