Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19106
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วินีกาญจน์ คงสุวรรณ | - |
dc.contributor.author | ไพศาล มือสะ | - |
dc.date.accessioned | 2023-11-22T07:17:18Z | - |
dc.date.available | 2023-11-22T07:17:18Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19106 | - |
dc.description | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต), 2561 | en_US |
dc.description.abstract | This quasi-experimental study aimed to examine the effect of a mental health rehabilitation program on resilience of orphans from the unrest situation in southern Thailand. Purposive sampling was used to select 60 orphans aged between 12 and 18 years who were studying in high schools in the academic year 2017, whose hometown was Muang district, Pattani province, and who had experienced on impact from unrest situation in southern Thailand. Thirty persons were randomly assigned to the experimental group and thirty persons to the control group. The research instruments included 1) the general information questionnaire, 2) the mental health rehabilitation program developed by the researcher consisting of four sessions lasting 60 - 90 minutes each and provided once a week, and 3) the resilience questionnaire, which was examined for content validity by three experts and yielded the reliability with a Cronbach's alpha of .88. The data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, chi-square, paired t-test and independent t-test. The results showed that: 1) after attending the mental health rehabilitation program, the experimental group had a significantly higher mean score of resilience than before attending the program after the program at the .05 level; 2) the experimental group had a significantly higher mean score of resilience than the control group, who received regular intervention at the .05 level. It is recommended that health personnel or healing team should use the program to increase resilience among orphans from the unrest situation in southern Thailand. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การบำบัดทางจิต | en_US |
dc.subject | เด็กกำพร้า | en_US |
dc.title | ผลของโปรแกรมการฟื้นฟูสภาพจิตใจต่อความเข้มแข็งทางจิตใจของเด็กกำพร้าจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้ | en_US |
dc.title.alternative | The Effect of Mental Health Rehabilitation Program on Resilience of Orphans from the Unrest Situation in Southern Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Nursing (Psychiatric Nursing) | - |
dc.contributor.department | คณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการฟื้นฟูสภาพจิตใจต่อความเข้มแข็งทางจิตใจของเด็กกําพร้าจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้ กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กกําพร้าที่กําลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษา อายุ 12-18 ปี ที่มีภูมิลําเนาอยู่ใน อําเภอเมือง จังหวัดปัตตานี และได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้ โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กําหนด จํานวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่ม ทดลองจํานวน 30 คน และกลุ่มควบคุมจํานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ 1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป 2) โปรแกรมการฟื้นฟูสภาพจิตใจต่อความเข้มแข็งทางจิตใจที่ ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีการดําเนินกิจกรรมทั้งหมด 4 ครั้ง สัปดาห์ละครั้ง ครั้งละ 60-90 นาที 3) แบบ ประเมินความเข้มแข็งทางจิตใจ เครื่องมือวิจัยได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ท่าน และทดสอบค่าความเที่ยงของแบบประเมินความเข้มแข็งทางจิตใจ โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้เท่ากับ 88 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ paired t-test และ independent t-test ผลการวิจัย พบว่า 1) กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยของความเข้มแข็งทางจิตใจหลังเข้าร่วมโปรแกรมการฟื้นฟูสภาพจิตใจสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยของความเข้มแข็งทางจิตใจสูงกว่ากลุ่มควบคุมหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการฟื้นฟูสภาพจิตใจอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังนั้นบุคลากรทางสาธารณสุข หรือทีมเยียวยาควรนําโปรแกรมไปใช้ในการเพิ่มความความเข้มแข็งทางจิตใจแก่เด็กกําพร้าจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้ต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | 647 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
426752.pdf | 1.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License