Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19098
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSupinya Tewtrakul-
dc.contributor.authorThawiwan Muthachan-
dc.date.accessioned2023-11-22T02:20:50Z-
dc.date.available2023-11-22T02:20:50Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19098-
dc.descriptionMaster of Pharmacy (Pharmaceutical Sciences), 2018en_US
dc.description.abstractKaempferia marginata Carey has been traditionally used in the treatment of inflammation. The ethanol extract exhibited the potent anti-inflammatory properties, therefore this study aimed to investigate biological activities on anti-inflammatory, wound healing and anti-oxidant activities. The extract was developed as gel formulations with the physical, chemical and biological stabilities. The anti-inflammatory activity was tested on anti-nitric oxide (NO) production, the wound healing activities were tested on cell proliferation and migration whereas, anti-oxidant activities were tested on 2,2-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) radical scavenging and hydrogen peroxide (H2O2)-induced oxidative stress. The anti-inflammatory activity of gel containing K. marginata of 10% w/w showed the highest activity with an IC50 value of 12.50 (before) and 12.83 μg/ml (after) (Diclofenac gel, IC50 value = 64.90 μg/ml). The wound healing activities of 5% w/w gel showed the highest % cell viability at 134.05 (before) and 134.65% (after) (Aloe vera gel, % cell viability = 92.64%) and the highest % cell migration was at 85.22 (before) and 85.71% (after) (Aloe vera gel, % cell migration = 72.64%). Moreover, the anti-oxidant activity on H2O2-induced oxidative stress activity assay of 10% w/w gel showed the highest % cell viability at 88.66 (before) and 87.94% (after) (vitamin C and vitamin E, % cell viability = 68.45 and 78.12%). However, the study on DPPH radical scavenging assay of samples were inactive. K. marginata gels showed good chemical stabilities which were evaluated by HPLC analysis. The samples were indicated that % desmethoxyyangonin both before and after accelerating conditions of 2.5% w/w were 75.1 and 78.7% and 5.0% w/w were 77.1 and 81.3% vii whereas at 10.0% w/w (77.7% and 84.8%) was slightly different. K. marginata gels also exhibited the good physical stabilities. The evaluations (color, odor and texture) both before and after accelerating conditions of samples were not different. The pH values of 2.5% w/w were 5.63 and 5.72, 5.0% w/w were 5.41 and 5.91 and 10.0% w/w were 6.42 and 6.78. The viscosity (103cP) values of 2.5% w/w were 7.05 and 7.51 ×103cP, 5.0% w/w were 6.03 and 6.43 ×103cP and 10.0% w/w were 6.07 and 7.06 ×103cP which also were not different. Gel containing K. marginata extracts have good anti-inflammatory, wound healing and anti-oxidant properties in vitro and showed physical, chemical and biological stabilities after accelerating conditions. The biological properties from this plant could support its traditional uses and obtain a new pharmaceutical product that has physical, chemical and biological stabilities.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.subjectHerbs Therapeutic useen_US
dc.subjectMedicinal plantsen_US
dc.titleBiological activities of Gel Containing Kaempferia marginata Extracten_US
dc.title.alternativeฤทธิ์ทางชีวภาพของเจลที่มีส่วนผสมของสารสกัดเปราะป่าen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Pharmaceutical Sciences (Pharmaceutical Technology)-
dc.contributor.departmentคณะเภสัชศาสตร์ ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม-
dc.description.abstract-thเปราะป่ามีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Kaempferia marginata Carey เป็นพืชสมุนไพรที่ใช้ดั้งเดิมในการรักษาการอักเสบ สารสกัดชั้นเอทานอลของเปราะป่า มีคุณสมบัติต้านการอักเสบ งานวิจัยครั้งนี้จึงศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับฤทธิ์ต้านการอักเสบ ฤทธิ์สมานแผล และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และนาสารสกัดเปราะป่าพัฒนาเป็นตารับในรูปแบบเจลที่มีความคงตัวทางกายภาพ ทางเคมี และทางชีวภาพ การทดสอบคุณสมบัติทางชีวภาพของฤทธิ์ต้านการอักเสบเป็นการตรวจสอบการต้านการผลิตไนตริกออกไซด์ที่หลั่งออกมาเนื่องจากการอักเสบ ฤทธิ์การสมานแผลเป็นการตรวจสอบการเพิ่มขึ้นของจานวนเซลล์ที่มีชีวิตและการเคลื่อนที่ของเซลล์เพื่อปิดบาดแผล และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระเป็นวิธีการวิเคราะห์ความสามารถในการเป็นสารต้านออกซิเดชันซึ่งใช้รีเอเจนต์คือ 2,2 diphenyl-1 picrylhydrazyl (DPPH) และตรวจสอบการรอดชีวิตของเซลล์จากการเหนี่ยวนาการตายของเซลล์ด้วย hydrogen peroxide (H2O2) จากการศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบพบว่า ตารับเจลจากสารสกัดเปราะป่า 10% w/w แสดงฤทธิ์ที่ดีที่สุดทั้งก่อนและหลังสภาวะเร่งที่ ค่า IC50 เท่ากับ 12.50 (ก่อน) และ 12.83 μg/ml (หลัง) (เจล ไดโคลฟีแนก, ค่า IC50 เท่ากับ 64.90 μg/ml) สาหรับฤทธิ์สมานแผลพบว่า ตารับเจลจากสารสกัดเปราะป่า 5% w/w แสดงฤทธิ์การเพิ่มขึ้นของจานวนเซลล์ที่มีชีวิตมากที่สุดทั้งก่อนและหลังสภาวะเร่งที่ % การอยู่รอดของเซลล์ เท่ากับ 134.05 (ก่อน) และ 134.65% (หลัง) (เจลว่านหางจระเข้, % การอยู่รอดของเซลล์ เท่ากับ 92.64%) และทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของเซลล์เพื่อปิดบาดแผลมากที่สุดเช่นกันทั้งก่อนและหลังสภาวะเร่งที่ % การเคลื่อนที่ของเซลล์ เท่ากับ 85.22 (ก่อน) และ 85.71% (หลัง) (เจลว่านหางจระเข้, % การเคลื่อนที่ของเซลล์ เท่ากับ 72.64%) นอกจากนี้ยังแสดงฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระจากการตรวจสอบการรอดชีวิตของเซลล์จากการเหนี่ยวนาเซลล์ตายด้วย H2O2 พบว่าตารับเจลจากสารสกัดเปราะป่า 10% w/w แสดงฤทธิ์ที่ดีที่สุดทั้งก่อนและหลังสภาวะเร่งที่ % การอยู่รอดของเซลล์ v เท่ากับ 88.66 (ก่อน) และ 87.94% (หลัง) (วิตามิน C และวิตามิน E, % การอยู่รอดของเซลล์ เท่ากับ 68.45 และ 78.12%) แต่อย่างไรก็ตามตารับเจลจากสารสกัดเปราะป่าไม่มีความสามารถในการเป็นสารต้าน DDPH ตารับเจลจากสารสกัดเปราะป่ามีความคงตัวทางเคมีที่ดีอีกด้วย โดยวัดจากการวิเคราะห์ด้วย HPLC พบว่า % desmethoxyyangonin ทั้งก่อนและหลังสภาวะเร่งของ 2.5% w/w เจล เท่ากับ 75.1 และ 78.7% และ 5.0% w/w เจล เท่ากับ 77.1 และ 81.3% ในขณะที่ 10.0% w/w เจล (77.7 และ 84.2 %) มีความแตกต่างกันเล็กน้อย ตารับเจลจากสารสกัดยังมีความคงตัวทางกายภาพที่ดีเช่นกัน โดยประเมินจากสี กลิ่น และลักษณะภายนอกทั้งก่อนและหลังสภาวะเร่ง ไม่มีความแตกต่างกัน ค่า pH ของ 2.5% เจล (5.63 และ 5.72), 5.0% เจล (5.41 และ 5.91) และ 10.0% เจล (6.42 และ 6.78) และค่าความหนืดของ 2.5% เจล (7.05 และ 7.51 ×103cP), 5.0% เจล (6.03 และ 6.43 ×103cP) และ 10.0% เจล (6.07 และ 7.06 ×103cP) ก็ไม่มีความแตกต่างด้วยเช่นกัน ดังนั้นจากการวิจัยการศึกษาครั้งนี้ตารับเจลจากสารสกัดเปราะป่ามีคุณสมบัติทางชีวภาพที่ดี และมีความคงตัวทั้งทางกายภาพ ทางเคมี และทางชีวภาพ คุณสมบัติทางชีวภาพของพืชนี้สามารถช่วยสนับสนุนการใช้พื้นบ้านแต่ดั้งเดิมและได้ผลิตภัณฑ์ทางยาใหม่ที่มีความคงตัวen_US
Appears in Collections:580 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
434004.pdf2.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.