Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19095
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสกสรร สุธรรมานนท์-
dc.contributor.authorนฤมล โชติช่วง-
dc.date.accessioned2023-11-21T08:48:56Z-
dc.date.available2023-11-21T08:48:56Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19095-
dc.descriptionวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน), 2561en_US
dc.description.abstractThis research is conducted to study the supply chain of rubber pillows for community enterprises in the South of Thailand. This research provides an analysis of the logistics system in the domestic rubber pillows business. The objective is to increase operational efficiency by identifying the logistics management model that supports the marketing strategy of the rubber pillow business in the Southern Community Enterprises. The scope of this work incorporates two main areas in the rubber pillows supply chain, including consumer and manufacturer. Three groups of consumers are considered; final costumer, hospital and military, and the pillows distributors. The market mix modeling is utilized to identify the customer behavior. Moreover, the in-depth interviews are occupied to determine the company strategic planning comprising the product information, the business management problem, and the business and logistics costs. This research proposes four strategic plans by integrating both manufacturer and consumer interests, including the reinforcement of the network strategic partnerships, enforcing the promotion to the state agencies, the establishment of the technical production standards, and maintaining the market share of the existing customers along with the enhancement of the new customer base. Ultimately, this research creates the mathematical models and presents the case study of the rubber pillows procurement in order to particularly delineate the performance of the first strategy. The result of planning order management, by integrating strategies of the latex pillow manufacturers from the case study, the total cost of the 3 manufacturers in the current situation is equal 11,052,950 THB. If the manufactuers are applied the integration strategy, the total cost will be reduced to 10,812,891 THB, 240,059 THB reduction, or 2.11 percent. This will lead to increase in negotiation power for manufacturer and to improve customer satisfaction.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์en_US
dc.subjectการจัดการตลาดen_US
dc.subjectการจัดการผลิตภัณฑ์en_US
dc.titleการศึกษาโลจิสติกส์การตลาดสำหรับสินค้าหมอนยางพาราของวิสาหกิจชุมชนภาคใต้en_US
dc.title.alternativeA Study of Marketing Logistics for Latex Pillow Producten_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering (Industrial Engineering)-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้ทาการศึกษาโซ่อุปทานของหมอนยางพาราของวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ภาคใต้ โดยวิเคราะห์ระบบโลจิสติกส์การตลาดของธุรกิจหมอนยางพาราในประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินงานโดยบ่งชี้รูปแบบการจัดการด้านโลจิสติกส์ที่สนับสนุนกลยุทธ์ด้านการตลาดของธุรกิจหมอนยางพาราของวิสาหกิจชุมชนภาคใต้ การวิจัยเริ่มจากการศึกษาสภาพปัจจุบัน ของธุรกิจโดยครอบคลุมการสารวจกลุ่มผู้บริโภคได้แก่ผู้บริโภครายสุดท้าย กลุ่มโรงพยาบาล ค่ายทหาร และตัวแทนจาหน่ายหมอนยางพารา ถึงส่วนประสมทางการตลาด ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจาหน่าย และการส่งเสริมการตลาด เพื่อให้ทราบถึงพฤติกรรมผู้บริโภคแต่ละกลุ่ม ในส่วนของผู้ผลิตโดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อให้ได้ข้อมูลผลิตภัณฑ์ การบริหารงานธุรกิจ สภาพปัญหาในธุรกิจ และข้อมูลต้นทุนโลจิสติกส์ จากนั้นนาข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์เบื้องต้น มาใช้ในการกาหนดกลยุทธ์ในการเพิ่มประสิทธิภาพโซ่อุปทานหมอนยางพารา ผลที่ได้จากงานวิจัย คือ กลยุทธ์ 4 ประเด็น ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 1 การสร้างความเข้มแข็งผ่านระบบเครือข่าย โดยกลยุทธ์การร่วมเป็นพันธมิตรธุรกิจ กลยุทธ์ที่ 2 การส่งเสริมการขายหมอนยางพาราให้หน่วยงานของรัฐในประเทศ กลยุทธ์ที่ 3 การสร้างมาตรฐานในองค์กรทั้งด้านเทคนิคการผลิต และด้านบริหารจัดการ กลยุทธ์ที่ 4 การรักษาส่วนครองตลาดของลูกค้ากลุ่มเดิม และเพิ่มฐานลูกค้าใหม่ ในงานวิจัยนี้ได้นากลยุทธ์การสร้างความเข้มแข็งผ่านระบบเครือข่าย โดยกลยุทธ์การร่วมเป็นพันธมิตรธุรกิจ สร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหา และประยุกต์ใช้กับกรณีศึกษา จากการวางแผนการจัดการการสั่งซื้อโดยกลยุทธ์การรวมกลุ่มกันของผู้ผลิตหมอนยางพารา จากกรณีศึกษาต้นทุนรวมทั้งหมดของผู้ผลิต 3 โรงงานในปัจจุบันมีต้นทุนรวมทั้งหมด 11,052,950 บาท หากมีการประยุกต์ใช้กลยุทธ์การรวมกลุ่มกันระหว่างผู้ผลิตทาให้ต้นทุนรวมลดลงเหลือ 10,812,891 บาท ลดลง 240,059 บาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 2.11 ทาให้ต้นทุนของผู้ผลิตลดลง และส่งผลให้สามารถเพิ่มอานาจต่อรองในตลาดรวมถึงความพึงพอใจของลูกค้าเพิ่มขึ้นen_US
Appears in Collections:228 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
433007.pdf5.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons