Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19085
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพลินพิศ ฐานิวัฒนานนท์-
dc.contributor.authorใหมมูน๊ะ สังขาว-
dc.date.accessioned2023-11-21T03:04:51Z-
dc.date.available2023-11-21T03:04:51Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19085-
dc.descriptionพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลผู้ใหญ่), 2561en_US
dc.description.abstractThis quasi-experimental research aimed to examine the effects of a self-management support program on medication adherence and blood pressure among older adults with uncontrolled hypertension. Sixty-two older adults with uncontrolled hypertension were purposively selected from the medical clinic of the super tertiary hospital in the south of Thailand. All 62 eligible subjects were randomly allocated into two groups with 31 cases per group. The control group received regular nursing care and the intervention group received regular nursing care and the self-management support program for 8 weeks. The results were evaluated by blood pressure measurement and assessment of medication adherence score using pill count with the medication adherence questionnaire (Cronbach's alpha coefficient 0.80). The personal information was analyzed using descriptive statistics and the hypotheses were tested using paired ttest and independent t-test. The results showed that after completion of the program, a mean score of medication adherence in the intervention group was statistically significantly higher than before the implementation and higher than the control group (p < .001), and mean systolic and diastolic blood pressure in the intervention group was statistically significantly lower than before the implementation and lower than the control group (p < .001). The findings suggest the benefits of the self-management support program on the improvement of medication adherence and better blood pressure control among older adults with uncontrolled hypertension. Therefore, this program should be employed in order to help older adults with uncontrolled hypertension and further promote safety from complications that may be caused by uncontrolled hypertension.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectความดันเลือดสูงในผู้สูงอายุ การรักษาด้วยยาen_US
dc.subjectโรคในผู้สูงอายุ การรักษาen_US
dc.titleผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองต่อความสม่ำเสมอในการรับประทานยาและระดับความดันโลหิตของผู้สูงอายุที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้en_US
dc.title.alternativeEffects of Self-Management Support Program on Medication Adherence and Blood Pressure Among Older Adults with Uncontrolled Hypertensionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Nursing (Adult and Elderly Nursing)-
dc.contributor.departmentคณะพยาบาลศาสตร์ สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ-
dc.description.abstract-thการวิจัยกึ งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการ ตนเองต่อความสม่ำเสมอในการรับประทานยาและระดับความดันโลหิตของผู้สูงอายุที่ควบคุมความดัน โลหิตไม่ได้ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้คัดเลือกแบบ เฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที ก่าหนดจ่านวน 62 ราย จากคลินิกอายุรกรรม โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ขั้นสูงแห่งหนึ งในภาคใต้ ใช้วิธีการสุ่มเข้าเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 31 ราย กลุ่มควบคุม ได้รับการพยาบาลตามปกติส่วนกลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับโปรแกรมสนับสนุน การจัดการตนเองเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ประเมินผลการทดลองโดยประเมินความดันโลหิตและความ สม่าเสมอในการรับประทานยาจากการนับเม็ดยาร่วมกับการใช้แบบประเมินที มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ของครอนบาคเท่ากับ 0.80 วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลโดยใช้สถิติพรรณนาและทดสอบสมมติฐานการ วิจัยโดยใช้สถิติทีคู่และสถิติทีอิสระ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี ยคะแนนความสม่าเสมอในการรับประทานยา หลังการทดลองมากกว่าก่อนการทดลองและมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส่าคัญทางสถิติ (p < .001) และมีค่าเฉลี ยความดันซิสโตลิคและความดันไดแอสโตลิคหลังการทดลองต่ากว่าก่อนการทดลองและ ต่ากว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส่าคัญทางสถิติ (p < .001) แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองสามารถช่วยให้ผู้สูงอายุโรค ความดันโลหิตสูงที ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้มีความสม่าเสมอในการรับประทานยาได้มากขึ้นและ สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้น จึงควรน่าไปใช้เพื อช่วยให้ผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนที อาจเกิดจากการควบคุมความดันโลหิตไม่ได้en_US
Appears in Collections:646 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
433057.pdf5.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons