Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19078
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีรัตน์ เย็นช้อน-
dc.contributor.authorนูรมา มาสากี-
dc.date.accessioned2023-11-20T07:06:19Z-
dc.date.available2023-11-20T07:06:19Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19078-
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พืชศาสตร์), 2561en_US
dc.description.abstractThe Influence of culture media on callus induction from culturing young leaves of seedling clone No. 6 on two different culture media, oil palm culture medium (OPCM) and Murashige and Skoog (MS) medium with 2.5 mg/l dicamba (3,6 dichloro-2-methoxybenzoic-acid) for 6 months was examined. The results showed that OPCM medium gave callus induction frequency 15% higher than that of MS medium. However, the percentage of browning obtained from OPCM was at 13.33% significantly lower than that from MS medium. Wounding callus of clone C3/77 (25) by chopping 100 times subsequent to culture on Eeuwens (Y3) medium with 0.1 mg/l dicamba for 1 month gave the highest embryogenic callus (EC) fresh weight (at 0.78 g), somatic embryo (SE) induction (at 48%) and number of SEs/tube (at 1.2 embryos). Culture medium with 100 mg/l ascorbic acid (AA) and 0.2% activated charcoal (AC) gave the highest fresh weight of EC (at 1.03 g), SE induction (at 100%) and number of SEs/tube (at 2.89 embryos). PGR free MS medium with 0.2 M sorbitol and 0.2% AC gave the highest frequency of secondary somatic embryo (SSE) formation (at 25%) and number of SSEs/tube (at 1.25 cluster embryos). For plantlet regeneration, SSEs cultured on PGR-free MS medium without AC gave significantly the highest frequency of shoot formation (at 16.66%) and number of shoots/tube (at 1 shoot).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectปาล์มน้ำมันen_US
dc.subjectการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชen_US
dc.subjectการขยายพันธุ์en_US
dc.titleการขยายพันธุ์ปาล์มน้ำมันพันธุ์ทรัพย์ ม.อ. ที่ให้ผลผลิตสูงด้วยการเพาะเลี้ยงใบอ่อนจากต้นกล้าen_US
dc.title.alternativePropagation of High Yielding Oil Palm SUP-PSU by Tissue Culture Technique from Young Leaves of Seedlingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Natural Resources (Plant Science)-
dc.contributor.departmentคณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพืชศาสตร์-
dc.description.abstract-thศึกษาผลของสูตรอาหารต่อการชักนำแคลลัสจากการเพาะเลี้ยงใบอ่อนของต้นกล้าปาล์มน้ามันทรัพย์ ม.อ. โคลน 6 บนสูตรอาหาร oil palm culture medium (OPCM) และสูตร Murashige และ Skoog (MS) เติม dicamba (3,6-dichloro-2-methoxybenzoic-acid) เข้มข้น 2.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ย้ายเลี้ยงทุกเดือน เป็นเวลา 6 เดือน พบว่า ใบอ่อนที่วางเลี้ยงบนอาหารสูตร OPCM ให้อัตราการเกิดแคลลัส 15 เปอร์เซ็นต์ สูงกว่าสูตรอาหาร MS และให้อัตราการเกิดสีน้ำตาลของชิ้นส่วนใบ 13.33 เปอร์เซ็นต์น้อยกว่าสูตรอาหาร MS แตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญยิ่ง จากการศึกษาการสร้างบาดแผลโดยการสับเอ็มบริโอเจนิคแคลลัส โคลน C3/77 (25) เป็นจ้านวนครั งที่ต่างกัน แล้ววางเลี ยงบนอาหารสูตร Y3 (Eeuwens) เติม dicamba ความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร วางเป็นเวลา 1 เดือน พบว่าการสับเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสจ้านวน 100 ครั ง ให้น้าหนักสดเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสสูงสุดเฉลี่ย 0.78 กรัม อัตราการเกิดโซมาติกเอ็มบริโอ 48 เปอร์เซ็นต์ และจ้านวนโซมาติกเอ็มบริโอเฉลี่ยต่อหลอด 1.2 เอ็มบริโอ อาหารที่เติมกรดแอสคอร์บิค 100 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับผงถ่าน 0.2 เปอร์เซ็นต์ ให้น้าหนักสดแคลลัสสูงสุดเฉลี่ย 1.03 กรัม อัตราการเกิดโซมาติกเอ็มบริโอสูงสุด 100 เปอร์เซ็นต์ และจ้านวนโซมาติกเอ็มบริโอเฉลี่ยต่อหลอด 2.89 เอ็มบริโอ ส่วนอาหารสูตร MS ที่ปราศจากสารควบคุมการเจริญเติบโตเติมน้าตาลซอร์บิทอล 0.2 โมลาร์ ร่วมกับผงถ่าน 0.2 เปอร์เซ็นต์ ให้อัตราการเกิดโซมาติกเอ็มบริโอชุดที่สองสูงสุด 25 เปอร์เซ็นต์ และจ้านวนโซมาติกเอ็มบริโอชุดที่สองเฉลี่ยต่อหลอด 1.25 กลุ่มเอ็มบริโอ และการพัฒนาเป็นพืชต้นใหม่จากการเพาะเลี ยงโซมาติกเอ็มบริโอชุดที่สอง พบว่า อาหารสูตร MS ที่ปราศจากสารควบคุมการเจริญเติบโตที่ไม่เติมผงถ่านให้อัตราการเกิดยอดสูงสุด 16.66 เปอร์เซ็นต์ และจ้านวนยอดเฉลี่ยต่อหลอด 1 ยอด แตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญยิ่งen_US
Appears in Collections:510 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
432195.pdf4.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons