กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19015
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorDurrast, Helmut-
dc.contributor.authorWipada Ngansom-
dc.date.accessioned2023-11-06T09:30:55Z-
dc.date.available2023-11-06T09:30:55Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19015-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Geophysics), 2018en_US
dc.description.abstractUtilization of geothermal energy resources has increased over the last decades due to climate change concerns. Southern Thailand is hosts 30 hot major springs with the surface discharge temperatures varying between 40 and 80 °C. From all, seven were selected in the first stage using a 60 °C surface discharge temperature and 100°C reservoir temperature of silica geothermometer cutoff value. In a second stage a quantitative potential assessment applying positive attitude factors technique was applied using numerical scores. A final ranking shows that two hot springs sites, in RN1 hot spring of Ranong geothermal system and PG1 hot spring of PhangNga Province, have a good potential for further developed. For the PG1 site was possibility of the origin of the hot spring is derived from deep circulation and which is controlled by faults that are associated either with the igneous bodies. A regional forced convective-circulation model for geothermal area is suggested, reflecting deep structural controls of the fluid pathways in the area, which has limited the degree of mixing. On the other hand, Saline Hot Spring Khlong Thom (KB4) of Krabi geothermal system is an active hot spring site, making it a real saline hot spring, in comparison to hyper saline hot spring water, which can be found worldwide often. It was found that the salinity of the hot spring water is from saline groundwater intrusion into the shallow to intermediate deep aquifers. Hot water is coming from the depth via open faults and fractures and geochemical data suggest a possible recharge of the geothermal system by meteoric water. Mixing of the hot water and the brackish water is considered in the shallow subsurface, acting also as a geothermal reservoir. Shallow, mainly vertical faults separating this reservoir in small compartments thus making groundwater flow very localized.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectRenewable energy sourcesen_US
dc.titleGeothermal Resources in Southern Thailand : Integrated Geoscientific Investigations and Assessmentsen_US
dc.title.alternativeแหล่งพลังงานใต้พิภพบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย : การบูรณาการสำรวจและการประเมินศักยภาพแหล่งทรัพยากรen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Science (Physics)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาฟิสิกส์-
dc.description.abstract-thการใช้ประโยชน์แหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพด้านพลังงานทดแทนมีแนวโน้มสูงขึ้นช่วงทศวรรษที่ผ่านมา สืบเนื่องจากผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก สาหรับบริเวณภาคใต้ของประไทย พบแหล่งน้าพุร้อนธรรมชาติ มากกว่า 30 แห่ง อุณหภูมิพื้นผิวระหว่าง 40 ถึง 80°C โดยผลการประเมินศักยภาพเบื้องต้น พบว่า แหล่งน้าพุร้อนธรรมชาติจำนวน 7 แหล่ง มีอุณหภูมิพื้นผิวตั้งแต่ 60°C และอุณหภูมิของแหล่งกักเก็บตั้งแต่ 100°C ขึ้นไป ซึ่งนำไปสู่การศึกษาขั้นรายละเอียดโดยอาศัยคุณสมบัติด้านปัจจัยเชิงบวก ประกอบ ปัจจัยด้านสถานที่ ข้อมูลการศึกษา ศักยภาพของแหล่งกักเก็บพลังงานความร้อนใต้พิภพ และปัจจัยด้านการตลาด พบว่า แหล่งน้าพุร้อนจังหวัดระนอง (RN1) และแหล่งน้าพุร้อนจังหวัดพังงา (PG1) มีศักยภาพเพียงพอต่อการส่งเสริมด้านการผลิตกระแสไฟฟ้าได้ในอนาคต โดยผลการศึกษาเชิงลึกของโครงสร้างทางธรณีวิทยาและคุณสมบัติของแหล่งกักเก็บความร้อนใต้พิภพของแหล่งน้ำพุร้อนจังหวัดพังงา (PG1) พบว่า แหล่งกาเนิดความร้อนของระบบน่าจะได้รับอิทธิพลจากกระบวนการแปรสัณฐานของรอยเลื่อนระดับลึก นอกจากนี้ ได้ดาเนินการศึกษาและสำรวจแหล่งน้ำพุร้อนเค็มคลองท่อม (KB4) จังหวัดกระบี่ พบว่า เกิดจากการผสมผสานระหว่างการรุกล้าของน้ำทะเลกับแหล่งกักเก็บน้ำร้อนธรรมชาติระดับตื้น ส่งผลให้แหล่งน้ำพุร้อนแห่งนี้มีรสเค็มทั้งนี้ผลการบูรณาการองค์ความรู้ด้านธรณีวิทยา การสารวจธรณีฟิสิกส์ และการวิเคราะห์ทางธรณีเคมี สามารถอนุมานได้ว่ามวลน้ำร้อนจากแหล่งกาเนิดระดับลึก เคลื่อนตัวผ่านรอยเลื่อนภายในพื้นที่เข้าสู่ชั้นน้ำบาดาลท้องถิ่น ซึ่งถูกรุกล้าด้วยน้ำทะเลระดับตื้น ก่อนเคลื่อนตัวสู่ผิวโลกen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:332 Thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
433056.pdf15.62 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons