Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19007
Title: A Causal Model of Health-Related Quality of Life in Thai Children with Cancer
Other Titles: โมเดลเชิงสาเหตุคุณภาพชีวิตเด็กไทยโรคมะเร็ง
Authors: Busakorn Punthmatharith
Pranee Khamchan
Faculty of Nursing (Adult and Elderly Nursing)
คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
Keywords: Cancer in children Nursing;Children Diseases Treatment
Issue Date: 2018
Publisher: Prince of Songkla University
Abstract: The path analytic study aims to develop and test a hypothesized causal model of health-related quality of life in Thai children with cancer. The revised Wilson and Clary conceptual model of HRQOL by Ferrans et al. (2005) and previous evidences were used to develop the model. Seven independent variables including family functioning, coping, symptom distress, trait anxiety, state anxiety, functional status, and self-care behavior were examined in the model. Data were collected using a set of questionnaires. Back translation technique was performed with two instruments developed in English. The reliability of instruments was tested and the results showed that all instruments had an acceptable value of reliability between .82 and .93. Purposive sampling was used to recruit 199 children with cancer and caregivers from eight tertiary hospitals in three parts of Thailand. Children were 9-18 years old, received chemotherapy at least one cycle, had good consciousness, and had no serious conditions. Data were analyzed using path analysis. The results showed that: 1) The goodness of fit measures of the hypothesized model was not met. 2) The goodness of fit measures of the modified model was met. 3) The modified model revealed that six independent variables including coping, symptom distress, trait anxiety, state anxiety, and functional status significantly accounted for 33% of variance in HRQOL. Trait anxiety had both a significant direct negative effect (ẞ = -.35, p < .001) and indirect negative effect on HRQOL (ẞ = -.08, p < .05) via state anxiety and functional status. It had a significant total effect on HRQOL (B = -.43, p < .05). Functional status had a significant positive effect on HRQOL (B = .34, p < .001). However, coping, symptom distress, and state anxiety had no direct effect on HRQOL. Coping had a significant indirect effect on HRQOL via state anxiety and functional status (B = .03, p < .05). Symptom distress had a significant indirect effect on HRQOL via functional status (B-.05, p < .05). Trait anxiety had a significant positive direct effect on state anxiety (B =.44, p < .001). Symptom distress and state anxiety had a significant negative direct effect on functional status (ẞ = -.16, p < .05; B = -.28, p < .001, respectively). Coping had a significant negative direct effect on state anxiety (B = -22, p < .001), whereas it had no direct effect on trait anxiety (B = -.11, p > .05). Besides, coping significantly and negatively correlated with symptom distress (r = -.19, p < .01). These findings provide the empirical evidences regarding the magnitude and directional effects of the factors influencing HRQOL in Thai children with cancer. This provides useful information for nurses to develop effective interventions to enhance HRQOL in Thai children with cancer.
Abstract(Thai): การศึกษาเชิงวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์เชิงสาเหตุมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและ ทดสอบโมเดลเชิงสาเหตุคุณภาพชีวิตเด็กไทยโรคมะเร็ง โมเดลนี้สร้างโดยใช้ แบบจําลองความคิด คุณภาพชีวิตของวิลสันและแคลรี่ที่ปรับปรุงโดยเฟอรานส์และคณะ (2005) และงานวิจัยที่ผ่านมา เจ็ดตัวแปรอิสระ ได้แก่ การทําหน้าที่ของครอบครัว การปรับตัว ความรู้สึกทุกข์ทรมานรบกวนการ ดําเนินชีวิตจากอาการ ความวิตกกังวลแฝง ความวิตกกังวลขณะกําลังเผชิญ ความสามารถในการ ปฏิบัติกิจกรรม และพฤติกรรมการดูแลตัวเอง ถูกเลือกมาทดสอบในโมเดล เก็บรวบรวมข้อมูลโดย ใช้ชุดแบบสอบถาม แบบสอบถาม 2 ชุดที่มีต้นฉบับเป็นภาษาอังกฤษได้รับการแปลโดยใช้เทคนิค การแปลย้อนกลับ ความเที่ยงของเครื่องมือได้รับการทดสอบและมีค่าที่ยอมรับได้ อยู่ระหว่าง .82 - 93 กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กป่วยโรคมะเร็ง จํานวน 199 คนและผู้ดูแล ได้ผ่านการคัดเลือกแบบ เฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง จากแปดโรงพยาบาลใน 3 ภาคของประเทศ ไทยโดยเด็กโรคมะเร็งมีอายุ 9 - 18 ปี เคยได้รับยาเคมีบําบัดอย่างน้อย 1 ครั้ง รู้สึกตัวดี และไม่มี ปัญหาสุขภาพที่รุนแรง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงการวิเคราะห์เส้นทางผลการศึกษาพบว่า 1. โมเดลเชิงสาเหตุคุณภาพชีวิตเด็กไทยโรคมะเร็งตามสมมุติฐานไม่มีความสอดคล้อง กับข้อมูลเชิงประจักษ์ 2. โมเดลเชิงสาเหตุคุณภาพชีวิตเด็กไทยโรคมะเร็งที่ปรับแก้ไขมีความสอดคล้องกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. โมเดลที่ปรับแก้ไขซึ่งประกอบด้วยตัวแปรอิสระ หกตัว ได้แก่ การปรับตัว ความรู้สึก ทุกข์ทรมานรบกวนการดําเนินชีวิตจากอาการ ความวิตกกังวลแฝง ความวิตกกังวลขณะกําลังเผชิญ และความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม สามารถอธิบายความแปรปรวนของคุณภาพชีวิตเด็กไทย โรคมะเร็งได้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติร้อยละ 33 โดยความวิตกกังวลแฝงมีอิทธิพลเชิงลบต่อคุณภาพชีวิตทั้งทางตรง (/ = -.35, p < .001) และทางอ้อม (B = -.08, p < .05) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยผ่านความวิตกกังวลขณะกําลังเผชิญ และความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมและมีอิทธิพลรวม เชิงลบอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติต่อคุณภาพชีวิต (฿ = -.43, p < .05) ส่วนความสามารถในการปฏิบัติ กิจกรรมมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติต่อคุณภาพชีวิต (B = 34, p < .001) การ ปรับตัว ความรู้สึกทุกข์ทรมานรบกวนการดําเนินชีวิตจากอาการ และความวิตกกังวลขณะกําลังเผชิญไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อคุณภาพชีวิต แต่การปรับตัวมีอิทธิพลทางอ้อมต่อคุณภาพชีวิตอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติโดยผ่านความวิตกกังวลขณะกําลังเผชิญ และความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม (ß = .03, p < .05) ความรู้สึกทุกข์ทรมานรบกวนการดําเนินชีวิตจากอาการมีอิทธิพลทางอ้อมต่อ คุณภาพชีวิตอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติโดยผ่านความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม (8 = -.05, p < .05) ความวิตกกังวลแฝงมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติต่อความวิตกกังวล ขณะกําลังเผชิญ (/ =,44, p < .001) ความรู้สึกทุกข์ทรมานรบกวนการดําเนินชีวิตจากอาการและ ความวิตกกังวลขณะกําลังเผชิญ มีอิทธิพลทางตรงเชิงลบอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติต่อความสามารถ ในการปฏิบัติกิจกรรม (฿ = -16, p < .05; ฿ = -28, p < .001 ตามลําดับ) ส่วนการปรับตัวมี อิทธิพลทางตรงเชิงลบอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติต่อความวิตกกังวลขณะกําลังเผชิญ (ß = -22, p < .001) แต่ไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อความวิตกกังวลแฝง (B = -11, p > .05) นอกจากนี้การปรับตัวยังมีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติกับความรู้สึกทุกข์ทรมานรบกวนการ คําเนินชีวิตจากอาการ (r = -19, p < .01) ผลการศึกษาเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ในแง่ของขนาดและ ทิศทางของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิต ในเด็กไทยโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นข้อมูลที่ประโยชน์ต่อพยาบาลเพื่อพัฒนาโปรแกรมที่มี คุณภาพในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตเด็กไทยโรคมะเร็ง
Description: Thesis (Ph.D., Nursing (International program))--Prince of Songkla University, 2018
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19007
Appears in Collections:646 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
431030.pdf15.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons