Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18979
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรชา ชูสุวรรณ-
dc.contributor.authorราตรีสวัสดิ์ ธนานันต์-
dc.date.accessioned2023-10-20T08:45:07Z-
dc.date.available2023-10-20T08:45:07Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18979-
dc.descriptionศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต(การบริหารการศึกษา), 2565en_US
dc.description.abstractObjectives of the research entitled The Workforce Development Plan of Vocational Education to Support the Policy on the Triangle of “Stability, Prosperity, and Sustainability in the Southern Border Provinces were 1) to study labor needs, labor attributes, and educational management plan to support the prototype policy “Triangle of Stability, Prosperity, and Sustainability” 2) to study the prototype policy of cooperation on management of vocational education with the public and private sectors to support the prototype policy of "Triangle of Stability, Prosperity, and Sustainability", and 3) to create the plan to develop vocational workforces to support the policy of “Triangle of Stability, Prosperity, and Sustainability”. The research was qualitative research including document synthesis, getting interview by conducted from ten persons, and the evaluation of information by three experts who had roles in policymaking and following-up work from the Ministry of Education, the National Economic and Social Development Council, and the government's special representative on solving the problems in the southern border provinces (one person from each sector). Research indicated the following results: 1. Within 5 years from year 2020-2022, there will be a need for 324 vocational workers per year. The top three industries that will need vocational workers are as follows: the first rank is rubber, palm, fruit processing, the second rank is halal food, and the third rank is fishery. The top three labor attributes are: the first rank is knowledge including Thai, English, and Electrical skills, the second rank consists of physical and intellectual attributes such as patience, problem-solving, and scientific thinking, and the third rank was mental attributes such as having moral and being honest. For vocational education management plans, the educators should be tenacious to these principles: 1) personnel cost survey, 2) providing academic practice and inserting desirable characteristics to vocational students, and 3) considering industrial factories outside the southern border provinces to participate in Co-operative Education. 2. The collaboration in vocational education management with the public and private sectors, it was found that there were six forms. The fastest form of cooperation is a business or government organization collaborating with a vocational college or each organization carries out its own mission, but there might be some cooperation. For example, private schools or government schools send grade 9 students to study vocational education by being given a quota. 3. The building of vocational workforce development plan, there were four factors should be consisting by: 1) industrial demand in the area, 2) accordance with the needs for being workers in abroad, 3) responding to labor in the manufacturing sector in the service area and 4) the development plan should be divided into two types: (1) teacher development and (2) student developmenten_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectกำลังคนอาชีวศึกษาen_US
dc.subjectนโยบายเมืองต้นแบบen_US
dc.subjectสามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนen_US
dc.subjectพื้นที่จังหวัดภาคใต้ชายแดนen_US
dc.titleแผนพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาเพื่อสนับสนุนนโยบายเมืองต้นแบบ “สามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ในพื้นที่จังหวัดภาคใต้ชายแดนen_US
dc.title.alternativeThe Workforce Development Plan of Vocational Education to Support the Policy of Prototype City on the “Triangle of Stability, Prosperity and Sustainability” in the Southern Border Provincesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Education (Educational Administration)-
dc.contributor.departmentคณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาบริหารการศึกษา-
dc.description.abstract-thวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ ได้แก่ 1) เพื่อศึกษาความต้องการแรงงาน คุณลักษณะแรงงาน และแผนการจัดการศึกษา เพื่อสนับสนุนนโยบายเมืองต้นแบบ “สามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” 2) เพื่อศึกษาแบบความร่วมมือในการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาร่วมกับภาครัฐและเอกชน เพื่อสนับสนุนนโยบายเมืองต้นแบบ “สามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” 3) เพื่อสร้างแผนพัฒนา กำลังคนอาชีวศึกษาเพื่อสนับสนุนนโยบายเมืองต้นแบบ “สามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” โดยใช้การ วิจัยเชิงคุณภาพ โดยแบ่งขั้นตอนเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 การศึกษาความต้องการคุณลักษณะแรงงาน แนวโน้มอาชีพภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจบริการ และแบบความร่วมมือ เพื่อสนับสนุนนโยบาย เมืองต้นแบบ “สามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ระยะที่ 2 จัดทำแผนพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา เพื่อสนับสนุนนโยบายเมืองต้นแบบ “สามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ในพื้นที่จังหวัดภาคใต้ชายแดน ขั้นตอนการวิจัย ได้แก่ การสังเคราะห์เอกสาร สัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมาย 10 คน วิเคราะห์เนื้อหา สรุปแล้วส่งให้กลุ่มเป้าหมายเดิมยืนยันเนื้อหา จากนั้นนำมาสังเคราะห์ วิเคราะห์และประเมินผล ข้อมูลที่ได้โดยผู้ทรงคุณ วุฒิ ที่มีบทบาท ออกนโยบายและติดตามงาน จำนวน 3 คน จากกระทรวงศึกษาธิการ สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และผู้แทนพิเศษของรัฐบาล ในการแก้ปัญหาภาคใต้ชายแดน อย่างละ 1 คน ผลการวิจัย พบว่า 1. ภายใน 5 ปี ตั้งแต่ พ.ศ.2563-2565 จะมีความต้องการแรงงานอาชีวศึกษาปีละ 324 ตำแหน่ง อุตสาหกรรมที่ต้องการแรงงานอาชีวศึกษา 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 1 แปรรูปยางพารา ปาล์ม ผลไม้ อันดับที่ 2 อาหารฮาลาล อันดับที่ 3 ประมง คุณลักษณะแรงงาน 3 อันดับแรกได้แก่ อันดับที่ 1 ด้านความรู้ ทักษะภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ด้านไฟฟ้า อันดับที่ 2 ด้านร่างกาย มีความ อดทน แก้ปัญหาเป็น คิดแบบหลักวิทยาศาสตร์ อันดับที่ 3 ด้านจิตใจ มีคุณธรรม ซื่อสัตย์ สำหรับ แผนการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาควรยึดหลัก 1) สำรวจต้นทุนด้านบุคลากร 2) วิชาการฝึกปฏิบัติและ คุณลักษณะที่พึงประสงค์แรงงานอาชีวศึกษา 3) พิจารณาโรงงานอุตสาหกรรมที่อยู่นอกเขตจังหวัด ภาคใต้ชายแดนในการร่วมจัดทวิศึกษา 2. การร่วมมือจัดการศึกษาอาชีวศึกษาร่วมกับภาครัฐและเอกชน พบว่า มี6 แบบความ ร่วมมือ คือ 1) แสวงหาความร่วมมือกับภาครัฐและเอกชน ด้านการสนับสนุนการเตรียมการผลิต 2) แสวงหาความร่วมมือกับภาครัฐและเอกชนด้านการเรียนการสอน 3) แสวงหาความร่วมมือกับ ภาครัฐและเอกชน ด้านการสร้างชื่อเสียงให้นักศึกษา 4) แสวงหาความร่วมมือระหว่างองค์กรธุรกิจ หรือราชการร่วมมือกับวิทยาลัยอาชีวศึกษาด้านการสนับสนุน 5) แสวงหาความร่วมมือระหว่างองค์กร ภาครัฐและเอกชนด้านการผลิตนักศึกษา และ 6) แสวงหาความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและ เอกชนด้านการติดตามนักศึกษาที่จบแล้วทำงานหรือประกอบธุรกิจที่โดดเด่น มาเป็นตัวอย่างสร้าง ชื่อเสียง รูปแบบความร่วมมือที่มีคะแนนสูงที่สุด คือ องค์กรธุรกิจหรือราชการร่วมมือกับวิทยาลัย อาชีวศึกษา ต่างคนต่างดำเนินการในภารกิจขององค์กร แต่อาจจะมีบางลักษณะที่สามารถสนับสนุน กันได้เช่น โรงเรียนเอกชน โรงเรียนรัฐบาล ส่งนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 มาเรียนต่ออาชีวศึกษาโดย รับโควตา ซึ่งนำไปจัดทำโครงการภายใต้แผนพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา ระยะที่ 1 3. การสร้างแผนพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษามีปัจจัยที่จะนำมาพิจารณา 4 ปัจจัยได้แก่ 1) ความต้องการภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่ 2) ความต้องการแรงงานนอกประเทศ 3) ความต้องการ ตอบสนองแรงงานภาคการผลิตบริการในพื้นที่ และ 4) พัฒนาแผนพัฒนาบุคลากรทางอาชีวศึกษา ประกอบด้วย (1) การพัฒนาครูสอนอาชีวศึกษา (2) การพัฒนานักศึกษาอาชีวศึกษาen_US
Appears in Collections:260 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5820130006.pdf2.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons