Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18976
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพลสิทธิ์ ศานติประพันธ์-
dc.contributor.authorณัฐวุฒิ คงชู-
dc.date.accessioned2023-10-20T07:32:04Z-
dc.date.available2023-10-20T07:32:04Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18976-
dc.descriptionวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า), 2566en_US
dc.description.abstractThis thesis proposes the development of the indirect vector control for PMSM drive. The indirect vector control requires the relationship of the motor differential equations. Therefore, this thesis proposes a mathematical model of the PMSM to study the PMSM operation and design the indirect vector control. The aim of this thesis is to improve the speed response of the PMSM compared with the reference speed and reduce the vibration effect of the PMSM. For this reason, the controller improvement for the indirect vector control was studied and confirmed through the simulation of the indirect vector control for PMSM drive by software-in-the-loop embedded software technique on MATLAB/Simulink program. This technique is used to verify and compare the controller performance in each type. The simulation results show that the predictive speed controller operated with the model predictive current controller provides a fast and accurate PMSM speed tracking performance and can reduce the PMSM torque ripple. In addition, this thesis also presents the simulation of the indirect vector control by processor-in-the-loop embedded software technique to verify and evaluate the proposed controller before real hardware implementation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectมอเตอร์ซิงโครนัสชนิดแม่เหล็กถาวรen_US
dc.subjectระบบควบคุมแบบเวกเตอร์ทางอ้อมen_US
dc.subjectตัวควบคุมพีไอen_US
dc.subjectตัวควบคุมกระแสแบบทำนาย , ตัวควบคุมกระแสแบบทำนายที่ใช้แบบจำลอง , ตัวควบคุมความเร็วรอบแบบทำนายen_US
dc.subjectซอฟต์แวร์แบบฝังตัววิธีโปรเซสเซอร์ในลูปen_US
dc.subjectPermanent Magnet Synchronous Motoren_US
dc.subjectIndirect Vector Control, PI Controller, Predictive Current Controlleren_US
dc.subjectModel Predictive Current Controlleren_US
dc.subjectPredictive Speed Controlleren_US
dc.subjectProcessor-in-the-loop embedded software.en_US
dc.titleการออกแบบตัวควบคุมแบบทำนายที่ใช้แบบจำลองสำหรับชุดขับเคลื่อนมอเตอร์ซิงโครนัสชนิดแม่เหล็กถาวรด้วยวิธีการควบคุมแบบเวกเตอร์ทางอ้อมen_US
dc.title.alternativeModel Predictive Control for Permanent Magnet Synchronous Motor Drive via Indirect Vector Controlen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering Electrical Engineering-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า-
dc.description.abstract-thงานวิจัยวิทยานิพนธ์นี้นำเสนอการพัฒนาระบบควบคุมแบบเวกเตอร์ทางอ้อมสำหรับขับเคลื่อนมอเตอร์ซิงโครนัสชนิดแม่เหล็กถาวร ระบบควบคุมแบบเวกเตอร์ทางอ้อมจำเป็นต้องใช้ความสัมพันธ์ของสมการเชิงอนุพันธ์ของมอเตอร์ การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของมอเตอร์ซิงโครนัสชนิดแม่เหล็กถาวร จึงถูกนำเสนอเพื่อศึกษาพฤติกรรมการทำงานของมอเตอร์ซิงโครนัสชนิดแม่เหล็กถาวร และออกแบบระบบควบคุมแบบเวกเตอร์ทางอ้อม งานวิจัยวิทยานิพนธ์นี้มุ่งเน้นการปรับปรุงผลตอบสนองของความเร็วรอบของมอเตอร์ต่อความเร็วรอบอ้างอิง และลดผลกระทบการสั่นสะเทือนของมอเตอร์ ด้วยเหตุนี้ การพัฒนาตัวควบคุมสำหรับระบบควบคุมแบบเวกเตอร์ทางอ้อมจึงได้รับการศึกษา และยืนยันผ่านการจำลองสถานการณ์ระบบควบคุมแบบเวกเตอร์ทางอ้อมด้วยเทคนิคซอฟต์แวร์แบบฝังตัววิธีซอฟต์แวร์ในลูปบนโปรแกรม MATLAB/Simulink เพื่อตรวจสอบและเปรียบเทียบสมรรถนะการทำงานของตัวควบคุมแต่ละชนิด ซึ่งจากผลการจำลองสถานการณ์แสดงให้เห็นว่า ตัวควบคุมความเร็วรอบแบบทำนายร่วมกับตัวควบคุมกระแสแบบทำนายที่ใช้แบบจำลองให้ผลตอบสนองการควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์ที่รวดเร็วและแม่นยำ รวมถึงสามารถลดการกระเพื่อมของสัญญาณแรงบิดทางไฟฟ้าของมอเตอร์ได้ดี นอกจากนี้ งานวิจัยวิทยานิพนธ์นี้ได้นำเสนอการจำลองสถานการณ์ระบบควบคุมแบบเวกเตอร์ทางอ้อมด้วยเทคนิคซอฟต์แวร์แบบฝังตัววิธีโปรเซสเซอร์ในลูป เพื่อเป็นการตรวจสอบความถูกต้องของอัลกอริทึมที่พัฒนาขึ้นก่อนนำไปใช้ในงานทางด้านปฏิบัติen_US
Appears in Collections:210 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310120030.pdf12.68 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons